1 / 53

ไฟฟ้า

ไฟฟ้า. ชุดที่ 2. เอกสารอ้างอิง. Dahl (2004) International Energy Markets: Understanding Pricing, Policies and Profits บทที่ 4 และ 5 เอกสารที่เกี่ยวกับอัตราค่าไฟฟ้าใน website ของ กฟผ. ( www.egat.co.th) กฟน. (www.mea.or.th) และ กฟภ. ( www.pea.or.th). เอกสารอ้างอิง.

jack
Download Presentation

ไฟฟ้า

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ไฟฟ้า ชุดที่ 2

  2. เอกสารอ้างอิง • Dahl (2004) International Energy Markets: Understanding Pricing, Policies and Profitsบทที่ 4 และ 5 • เอกสารที่เกี่ยวกับอัตราค่าไฟฟ้าใน website ของ กฟผ. (www.egat.co.th) กฟน. (www.mea.or.th) และ กฟภ. (www.pea.or.th)

  3. เอกสารอ้างอิง • ภูรี สิรสุนทร (2549) การกำกับดูแลอัตราค่าไฟฟ้าของประเทศไทย: บทวิเคราะห์และทางเลือก วารสารเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์ Vol. 24 No. 3 • ทบทวนศ.311 เรื่องการตั้งราคาของหน่วยผลิตที่มีอำนาจเหนือตลาด

  4. Marginal-cost pricing • การตั้งราคา ณ P = MC • P สะท้อนถึงราคาที่ผู้บริโภคยินดีจ่ายหรืออรรถประโยชน์ที่สังคมได้รับ • MC สะท้อนถึงต้นทุนค่าเสียโอกาสของปัจจัยการผลิตที่สังคมได้สูญเสียไปในการผลิตสินค้าแต่ละชิ้น

  5. MC PC AR=D MR QC Marginal-cost pricing $/Q Quantity

  6. Marginal-cost pricing • ขายไฟฟ้าทุกหน่วยให้แก่ผู้บริโภคทุกคน ณ P=MC • ผู้ผลิตได้รับกำไรปกติ • ทำให้เกิดการจัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด • มักจะเกิดในตลาดแข่งขันสมบูรณ์

  7. Marginal-cost pricing • ในกิจการไฟฟ้า มีปัญหาสำคัญอยู่สองประการ ในการใช้วิธีตั้งราคาแบบ Marginal-cost pricing • การผูกขาดโดยธรรมชาติ • Peak-load demand (ช่วงเวลาที่มีอุปสงค์มาก)

  8. การผูกขาดโดยธรรมชาติ กิจการไฟฟ้าเป็นกิจการที่มีการผูกขาดโดยธรรมชาติ (Natural monopoly) มีการลงทุนสูง กิจการที่ต้องผลิตเป็นจำนวนมากๆ เพื่อก่อให้เกิดการประหยัดต่อขนาด (Economies of scale) เส้น AC ลาดลงตลอด 8

  9. การผูกขาดโดยธรรมชาติ (Natural monopoly) บาท LAC LMC 0 Q

  10. การผูกขาดโดยธรรมชาติ • ผู้ผลิตรายเดียวมีต้นทุนต่อหน่วยต่ำกว่ากรณีผู้ผลิตมากกว่า 1 ราย • กิจการ “ระบบสายส่ง” และ “ระบบจำหน่าย” มีลักษณะเป็นการผูกขาดโดยธรรมชาติ แต่โรงไฟฟ้าและ “ขายปลีก” ไม่ใช่

  11. การผูกขาดโดยธรรมชาติ (Natural monopoly) บาท Pm B LAC LMC D = AR 0 Q MR Q2 11

  12. การตั้งอัตราค่าไฟฟ้าแบบผู้ผูกขาดการตั้งอัตราค่าไฟฟ้าแบบผู้ผูกขาด • ผลิตเพื่อให้ได้รับกำไรสูงสุด => MR= LMC ที่จุด B=> ผลิต OQ2 ตั้งราคา ณ OPm • ผู้ผูกขาดผลิตน้อย ตั้งราคาสูง และได้รับกำไรปกติ (ตามรูปนี้) => เกิดประโยชน์สาบสูญ (Deadweight loss) • จำเป็นที่รัฐต้องเข้ามากำกับดูแล

  13. การผูกขาดโดยธรรมชาติ (Natural monopoly) บาท Pm B LAC A Pi LMC D = AR 0 Q MR Q2 Q1 13

  14. Marginal-cost pricing • หรือ ราคาอุดมคติ (Ideal Price) ที่จุด A ==> P=MC • อยู่บนแนวคิดที่มุ่งเน้นให้การใช้ทรัพยากรของสังคมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดควบคุมราคาที่ ราคาต่อหน่วย เท่ากับ ต้นทุนส่วนเพิ่มของสินค้า (Pi = MC) • Natural monopoly => ผู้ผูกขาดจะขาดทุน เพราะ P<LAC • จำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือจากรัฐในรูปของเงินอุดหนุน

  15. การผูกขาดโดยธรรมชาติ (Natural monopoly) บาท Pm B Pf C LAC A Pi LMC D = AR 0 Q MR Q2 Q1 Q3 15

  16. Average-cost pricing • หรือ ราคายุติธรรม (Fair Price) • ผู้ผูกขาดควรได้รับผลตอบแทนที่ยุติธรรมโดยราคาขายที่ตั้งควรจะเป็นราคาที่ทำให้ผู้ผูกขาดได้รับเพียงกำไรปกติ • ตั้งราคาต่อหน่วยเท่ากับต้นทุนเฉลี่ยต่อหน่วย (Pf = AC) ที่จุด C และผลิต OQ3

  17. โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าของไทยโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าของไทย • โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าของไทย ประกาศใช้เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2548 (www.eppo.go.th) • ค่าไฟฟ้าที่เก็บกับผู้บริโภคประกอบด้วย • ค่าไฟฟ้าฐาน (Base tariff) • ค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (Ft) • ภาษีมูลค่าเพิ่ม (7%) • ดู ตัวอย่าง ใบเสร็จค่าไฟฟ้า

  18. ค่าไฟฟ้าฐาน • วัตถุประสงค์ • ให้ราคาสะท้อนต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ • ส่งเสริมให้ใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพ (ในช่วง Peak ให้ใช้น้อยลง) • ให้สามการไฟฟ้ามีฐานะทางการเงินที่มั่นคงและสามารถขยายกิจการในอนาคต

  19. ค่าไฟฟ้าฐาน • วัตถุประสงค์ • ให้ความเป็นธรรมแก่ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทต่าง ๆ โดยลดการอุดหนุนจากผู้ใช้ไฟฟ้ากลุ่มหนึ่งให้แก่อีกกลุ่มหนึ่ง • กำหนดอัตราให้คงที่เป็นระยะเวลาหลายปี

  20. การแบ่งแยก 7 ประเภทผู้ใช้ • บ้านอยู่อาศัย • กิจการขนาดเล็ก • กิจการขนาดกลาง • กิจการขนาดใหญ่ • กิจการเฉพาะอย่าง • ส่วนราชการและองค์กรที่ไม่แสวงหากำไร • สูบน้ำเพื่อการเกษตร • ไฟฟ้าชั่วคราว

  21. ข้อสังเกต • เป็นการจัดกลุ่มตามลักษณะการใช้ไฟฟ้า (Load pattern) โดยให้ผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีลักษณะการใช้ไฟฟ้าคล้ายกันอยู่กลุ่มเดียวกัน • ผู้ใช้ประเภทอุตสาหกรรม จ่ายค่าไฟฟ้าในราคาเฉลี่ยที่ต่ำกว่าผู้ใช้ประเภทบ้านอยู่อาศัย

  22. ข้อสังเกต ค่าไฟฟ้าเฉลี่ย (บาท/หน่วย)สำหรับปี 2550 (ดูตาราง 30 ในรายงานไฟฟ้า) 23

  23. ค่าไฟฟ้าฐาน • ในแต่ละประเภทของผู้ใช้ไฟฟ้า โครงสร้างอัตราไฟฟ้ายังแบ่งออกเป็น อัตรารายเดือน (Monthly Rate) และอัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Rate: TOU) • อัตรารายเดือน เป็นอัตราค่าไฟฟ้าที่คิดตาม “ปริมาณการใช้ไฟฟ้า” (energy charge) โดยยิ่งใช้มาก ราคาค่าไฟฟ้าต่อหน่วยก็ยิ่งแพง (อัตราก้าวหน้า)

  24. ค่าไฟฟ้าฐาน • ไม่ว่าจะเป็นการตั้งราคาแบบรายเดือนหรือ TOU จะแบ่งราคาค่าไฟฟ้าออกแบบ 2-3 ส่วนอันได้แก่ • ค่าบริการ (บาท/เดือน) • ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาทต่อกิโลวัตต์ชั่วโมง) หรือ energy charge • ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (บาท/กิโลวัตต์) หรือ demand charge คิดเฉพาะผู้ใช้รายกลางขึ้นไป (>30kW)

  25. ค่าไฟฟ้าฐาน • ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand charge) จะสะท้อนถึงต้นทุนในการลงทุนของการไฟฟ้า เพื่อให้มีความพร้อมจ่ายกระแสไฟฟ้าเสมอเมื่อผู้ใช้ไฟฟ้าต้องการ อันได้แก่ การลงทุนในการก่อสร้างโรงไฟฟ้า ระบบส่ง และระบบจำหน่าย

  26. ค่าไฟฟ้าฐาน • ค่าพลังงานไฟฟ้า (Energy charge) สะท้อนถึงต้นทุนด้านเชื้อเพลิงที่ใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า เมื่อผู้ใช้ไฟมีการใช้ไฟฟ้าจริง • ค่าความต้องการไฟฟ้าและค่าพลังงานไฟฟ้าอาจแตกต่างกันในแต่ละช่วงเวลา (Peak กับ Off-peak)

  27. ค่าไฟฟ้าฐาน • สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าบางประเภท (กิจการขนาดกลางและขนาดใหญ่) => ในกรณีของ TOU ราคาค่าไฟฟ้ามีมากกว่าสองส่วน • ค่าบริการ (บาท/เดือน) • ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาทต่อกิโลวัตต์ชั่วโมง) • ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (บาท/กิโลวัตต์)

  28. ค่าไฟฟ้าฐาน • อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (TOU) เป็นอัตราค่าไฟฟ้าแบบ energy charge ที่คิดตามช่วงเวลาของการใช้ แบ่งออกเป็น • Peak (ช่วงที่มีการใช้ไฟฟ้ามาก จึงคิดราคาแพง) และ • Off-Peak (ช่วงที่มีการใช้ไฟฟ้าน้อย จึงคิดราคาต่ำ)

  29. โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า => อัตราปกติ หรืออัตรารายเดือน หมายเหตุ: Time of day rate (TOD) แบ่งออกเป็น Peak, Partial peak และ Offpeak

  30. โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า => อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (TOU) หมายเหตุ P = Peak; OP = Off peak

  31. TOU • TOU คือ อัตราค่าพลังงานไฟฟ้าตามช่วงเวลาของการใช้ แบ่งออกเป็นสองช่วง • ช่วงความต้องการไฟฟ้าสูง (Peak period) ระหว่างเวลา 9.00-22.00 น. ของวันจันทร์-ศุกร์ • ช่วงความต้องการไฟฟ้าต่ำ (Off peak period) ระหว่างเวลา 22.00-9.00 น. ของวันจันทร์-ศุกร์และวันเสาร์ อาทิตย์ วันหยุดราชการตามปกติ (ไม่รวมวันหยุดชดเชย)

  32. TOU • การแบ่งช่วงเวลาเช่นนี้มาจากการศึกษาลักษณะการใช้ไฟฟ้าในปี 2537 • ค่าพลังงานไฟฟ้าในช่วง Peak จะแพงกว่าในช่วง Off peak เนื่องจากในช่วงที่ความต้องการไฟฟ้าเพิ่มขึ้น ภาคไฟฟ้าจำเป็นต้องมีการลงทุนเพิ่มในกำลังการผลิต และการจำหน่ายไฟฟ้า ต้นทุนจึงสูงขึ้น

  33. Peak load pricing • การตั้งราคาแบบ TOU ใช้แนวคิดของ Peak load pricing (การตั้งราคาตามภาระการผลิตสูงสุด / การผลิตตามภาระต้นทุน) • การคิดราคาต่างกันสำหรับช่วงเวลาที่ต่างกัน เนื่องจากแต่ละช่วงเวลามีอุปสงค์และภาระต้นทุนไม่เท่ากัน

  34. อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (TOU) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ใช้ไฟรายใหญ่ย้ายเวลาการใช้ไฟมากไปในช่วง off-peak ซึ่งมีการใช้ไฟน้อย ทำให้ peak load ไม่สูงนัก Peak load pricing 35

  35. Peak load pricing • ช่วงที่มีอุปสงค์มาก (Peak load) ทำให้ภาระต้นทุนสูง ผู้ผลิตจะตั้งราคาให้สูงกว่าช่วงที่มีอุปสงค์น้อยและมีภาระต้นทุนต่ำ

  36. MC P1 D1 = AR1 P2 MR1 D2 = AR2 MR2 Q2 Q1 Peak-Load Pricing MR=MC สำหรับผู้บริโภคแต่ละกลุ่ม กลุ่มที่ 1 มีอุปสงค์มาก (Peak load) P Q

  37. Peak load pricing • การตั้งราคาแบบ TOU สามารถสะท้อนต้นทุนในการผลิตในแต่ละช่วงเวลา • ตั้งราคาแพงในช่วง Peak เพื่อส่งเสริมให้ลดความต้องการพลังงานไฟฟ้าในช่วงนี้ลง และเพิ่มการใช้ไฟฟ้าในช่วง Off peak • ชะลอการลงทุนในโรงไฟฟ้า ระบบส่งและระบบจำหน่ายเพื่อสนองตอบความต้องการในช่วง Peak • ผู้ใช้ไฟฟ้าปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ไฟฟ้าทำให้ การใช้ไฟฟ้ามีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น

  38. โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าของไทยโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าของไทย ค่าไฟฟ้าที่เก็บกับผู้บริโภคประกอบด้วย ค่าไฟฟ้าฐาน (Base tariff) ค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (Ft) ภาษีมูลค่าเพิ่ม (7%) 39

  39. ค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (ค่า Ft) ค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ หรือค่าไฟฟ้าผันแปร (ค่า Ft) เป็นค่าไฟฟ้าที่ปรับเปลี่ยนเพิ่มขึ้นหรือลดลง ตามการเปลี่ยนแปลงของต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านเชื้อเพลิงและค่าซื้อไฟฟ้า ที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของสามการไฟฟ้า 40

  40. ค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (ค่า Ft) เป็นกลไกในการส่งผ่าน (pass through) ต้นทุนที่ไม่สามารถควบคุมได้ให้แก่ผู้บริโภค คิดเฉพาะส่วนที่แตกต่างไปจากต้นทุนที่อยู่ในการคำนวณค่าไฟฟ้าฐาน ปรับ Ft ได้ทุก 4 เดือน 41

  41. ค่า Ft สูตร Ft มีการปรับปรุงสูตรหลายครั้ง เพื่อให้เกิดความเหมาะสมกับสภาวการณ์ของต้นทุนการผลิตไฟฟ้า ณ ขณะนั้นๆ ล่าสุดเมื่อเดือนตุลาคม 2548 ได้มีการปรับปรุงสูตร Ft โดยให้ Ft ขายปลีกประกอบด้วย Ft ขายปลีกคงที่ (46.83 สตางค์/หน่วย) ΔFt ขายปลีก 42

  42. ค่า Ft ขายปลีกคงที่ Ft ขายปลีกคงที่คือประมาณการค่า Ft ขายปลีก ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2548 – พฤษภาคม 2548 43

  43. ค่า ΔFt ขายปลีก ΔFt ขายปลีก คือการเปลี่ยนแปลงจากค่าเฉลี่ย ณ เดือน กุมภาพันธ์ 2548- พฤษภาคม 2548 ของ ค่าเชื้อเพลิงของ กฟผ. ค่าซื้อไฟฟ้าจาก IPPs, SPPs และต่างประเทศ ค่าใช้จ่ายตามนโยบายที่รัฐกำหนด (การส่งเงินเข้ากองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้าและ VSPP Adder ฝ่ายจำหน่าย) 44

  44. 45

  45. ค่าไฟฟ้ารวม (บาทต่อหน่วย) 46

  46. 47

  47. ค่าไฟฟ้าเท่ากันทั่วประเทศ (Uniform Tariff) • สามการไฟฟ้าจำเป็นต้องให้บริการอย่างทั่วถึง • ชนบทและพื้นที่ห่างไกล มีต้นทุนในการส่ง และจำหน่ายไฟฟ้าสูงกว่าพื้นที่ในเขตเมือง หากตั้งราคาตามต้นทุนจริงที่เกิดขึ้น อาจทำให้ประชาชนในพื้นที่ห่างไกลต้องจ่ายแพงกว่าและอาจไม่สามารถเข้าถึงบริการได้

  48. ค่าไฟฟ้าเท่ากันทั่วประเทศ (Uniform Tariff) • การใช้โครงสร้างค่าไฟฟ้าฐาน (ขายปลีก) เป็นอัตราเดียวทั่วประเทศ (Uniform tariff) จึงจำเป็น • และต้องให้การอุดหนุนไขว้ (Cross subsidies) • ประเภทที่หนึ่ง การให้เงินอุดหนุนระหว่างการไฟฟ้าด้วยกันเอง • ประเภทที่สอง การให้เงินอุดหนุนระหว่างผู้ใช้ไฟฟ้าแต่ละกลุ่ม

  49. การอุดหนุนประเภทที่หนึ่งการอุดหนุนประเภทที่หนึ่ง • กฟน. จ่ายเงินชดเชยรายได้ให้แก่ กฟภ. ในปี 2548-2551 (เนื่องจาก กฟภ. มีต้นทุนในการจัดหาไฟฟ้าสูงกว่า กฟน.)

More Related