1 / 145

เครื่องวัดไฟฟ้า

เครื่องวัดไฟฟ้า. เสนอ. นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ. มัลติมิเตอร์. นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ. วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล. มาตรฐานรายวิชา. 1. เข้าใจหลักการทำงานของเครื่องวัดไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ. 2. ใช้เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ วัดค่าทางไฟฟ้า. จุดประสงค์ครั้งนี้. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ และ

jaafar
Download Presentation

เครื่องวัดไฟฟ้า

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เครื่องวัดไฟฟ้า เสนอ นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ

  2. มัลติมิเตอร์

  3. นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล

  4. มาตรฐานรายวิชา 1. เข้าใจหลักการทำงานของเครื่องวัดไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ 2. ใช้เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ วัดค่าทางไฟฟ้า

  5. จุดประสงค์ครั้งนี้ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ และ สามารถนำไปใช้ได้เกี่ยวกับ • โครงสร้างมัลติมิเตอร์ • หลักการทำงาน • การอ่านค่า และการบำรุงรักษา

  6. จุดประสงค์ครั้งนี้ 1. หลักการทำงานของมัลติมิเตอร์ได้ 2. โครงสร้างของมัลติมิเตอร์ได้ 3. อ่านค่า ต่างๆ จากสเกลของมัลติมิเตอร์ได้

  7. จุดประสงค์ครั้งนี้ 4. อ่านค่าจากมัลติมิเตอร์ได้อย่างแม่นยำ 5. บอกถึงข้อควรระวังในการใช้มัลติมิเตอร์ได้

  8. หนังสือหรือเอกสารประกอบการสอนหนังสือหรือเอกสารประกอบการสอน ชื่อหนังสือ...เครื่องวัดไฟฟ้า.... ชื่อผู้แต่ง.....อ.เอนก นรสาร..... สำนักพิมพ์.....ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ........ ปีที่พิมพ์....2548........ จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...

  9. หนังสือหรือเอกสารประกอบการสอนหนังสือหรือเอกสารประกอบการสอน ชื่อหนังสือ..เครื่องวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิคส์.. ชื่อผู้แต่ง.....อ.รัชนัย อินทุไส..... สำนักพิมพ์.....ฟิสิกส์เซ็นเตอร์....... ปีที่พิมพ์....2546........ จังหวัด... นครปฐม...

  10. หนังสือหรือเอกสารประกอบการสอนหนังสือหรือเอกสารประกอบการสอน ชื่อหนังสือ..เครื่องวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิคส์.. ชื่อผู้แต่ง.....อ.พันธ์ศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ์..... สำนักพิมพ์..... ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ........ ปีที่พิมพ์....2548........ จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...

  11. หนังสือหรือเอกสารประกอบการสอนหนังสือหรือเอกสารประกอบการสอน ชื่อหนังสือ..เครื่องมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิคส์.. ชื่อผู้แต่ง.....อ.ชาญชัย แสนจันทร์..... สำนักพิมพ์..... ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ........ ปีที่พิมพ์....2547........ จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...

  12. หนังสือหรือเอกสารประกอบการสอนหนังสือหรือเอกสารประกอบการสอน ชื่อหนังสือ..เครื่องมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิคส์.. ชื่อผู้แต่ง.....อ. วีรธรรม ไชยยงค์..... สำนักพิมพ์..... วังอักษร........ ปีที่พิมพ์....2547........ จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...

  13. หนังสือหรือเอกสารประกอบการสอนหนังสือหรือเอกสารประกอบการสอน ชื่อหนังสือ..เครื่องมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิคส์.. ชื่อผู้แต่ง.....อ. ประภา โลมะพิเศษย์..... สำนักพิมพ์..... เอมพันธ์ จำกัด........ ปีที่พิมพ์....2547........ จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...

  14. มัลติมิเตอร์

  15. (Multimeter) คือ เครื่องมือวัดทางไฟฟา ที่นําเอาเครื่องมือวัดพื้นฐานทางไฟฟา หลาย ๆ ชนิดมารวมไวในเครื่องเดียวกัน คือ การรวมโวลตมิเตอร แอมปมิเตอร และโอหมมิเตอรไวในเครื่องเดียวกัน หรือ อื่น ๆ

  16. - ความต่างศักย์กระแสตรง (DC voltage) - ความต่างศักย์กระแสสลับ (AC voltage) - ปริมาณกระแสตรง (DC current) - ความต้านทานไฟฟ้า (electrical resistance) โดยทั่วไปแล้วมัลติมิเตอร์จะสามารถใช้วัดปริมาณต่อไปนี้

  17. อย่างไรก็ตามมัลติมิเตอร์บางแบบสามารถใช้วัดปริมาณอื่น ๆ ได้อีก เช่น กำลังออกของสัญญาณความถี่เสียง (AF output) การขยายกระแสตรงของทรานซิสเตอร์ (DC current amplification, hFE) กระแสรั่วของทรานซิสเตอร์ (leakage current, lCEO) ความจุทางไฟฟ้า (capacitance) ฯลฯ

  18. แบงออกได 2 แบบ คือ 1. แบบเข็มชี้ (Analog Multimeter) 2. แบบตัวเลข (Digital Multimeter)

  19. มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (analog multimeter, AMM)

  20. ส่วนประกอบสำคัญของมัลติมิเตอร์แบบเข็มส่วนประกอบสำคัญของมัลติมิเตอร์แบบเข็ม

  21. ส่วนประกอบสำคัญของมัลติมิเตอร์แบบเข็ม

  22. ที่ปรับการชี้ศูนย์ (indicator zero corrector): ใช้สำหรับการปรับให้เข็มชี้ศูนย์ขณะยังไม่ได้ใช้ทำการวัด ในกรณีเข็มเคลื่อน

  23. สกรูปรับศูนย์

  24. สเกล

  25. 1. สเกลวัดความต้านทาน () ด้านล่างของสเกลนี้มีกระจกเงาเพื่อช่วยแก้ความคลาดเคลื่อนในการอ่านเนื่องจากแพรัลแลกซ์ 2. สเกลวัดความต่างศักย์กระแสตรง (DCV) และปริมาณกระแสตรง (DCA) มีสีดำ 3. สเกลวัดความต่างศักย์กระแสสลับ (ACV) มีสีแดง

  26. 4. สเกลวัดการขยายกระแสตรงของทรานซิสเตอร์ (hFE) มีสีน้ำเงิน 5. สเกลวัดกระแสรั่วของทรานซิสเตอร์ (LEAK, ICEO, Ll) มีสีน้ำเงิน 6. สเกลวัดความต่างศักย์ระหว่างปลายขณะวัดความต้านทาน (LV) มีสีน้ำเงิน 7. สเกลวัดกำลังออกของสัญญาณความถี่เสียง (dB) มีสีแดง

  27. แผงหน้าปัด (panel) เข็มชี้ (indicator pointer)

  28. ส่วนประกอบของมัลติมีเตอร์ส่วนประกอบของมัลติมีเตอร์ สวิตช์เลือกย่านวัด

  29. สวิตช์เลือกปริมาณที่จะวัดและระดับขนาด (range selector switch knob) : เป็นสวิตช์ที่ผู้ใช้จะต้องบิดเลือกว่าจะใช้เครื่องวัดปริมาณใด ซึ่งมีทั้งหมด 4 ปริมาณแต่ละปริมาณมีช่วงการวัดให้เลือก ดังนี้

  30. ACV : 0-10V, 0-50 V, 0-250 V และ 0-1000 V (รวม 4 ช่วงการวัด) DCV : 0-0.1 V, 0-0.5 V, 0-2.5 V, 0-10 V, 0-50 V, 0-250 V และ 0-1000 V (รวม 7 ช่วงการวัด) DCA :0-50A,0-2.5 mA,0-25mA,และ0-0.25 A (รวม 4 ช่วงการวัด)

  31. Resistance x 1 (อ่านได้ 0 – 2 k)x 10 (อ่านได้ 0 – 20 k) x 1k (อ่านได้ 0 - 2000 k หรือ 2 M) x 10k (อ่านได้ 0-20 M)( รวม 4 ช่วงการวัด)

  32. ส่วนประกอบของมัลติมีเตอร์ส่วนประกอบของมัลติมีเตอร์ ปุ่มหมุนปรับศูนย์โอห์ม

  33. ปุ่มปรับแก้ศูนย์โอห์ม (0 adjust knob) : ใช้เพื่อปรับให้เข็มชี้ศูนย์โอห์มเมื่อนำปลายวัดทั้งคู่มาแตะกันก่อนทำการวัดค่าความต้านทานในแต่ละช่วงการวัด

  34. ส่วนประกอบของมัลติมีเตอร์ส่วนประกอบของมัลติมีเตอร์ ขั้วต่อสายโพรบบวก(+)

  35. ส่วนประกอบของมัลติมีเตอร์ส่วนประกอบของมัลติมีเตอร์ ขั้วต่อสายโพรบลบ(-)

  36. ส่วนประกอบของมัลติมีเตอร์ส่วนประกอบของมัลติมีเตอร์ ขั้วต่อ OUT PUT

  37. ช่องเสียบสายวัดขั้วบวก (measuring terminal +) ช่องเสียบสายวัดขั้วลบ (measuring terminal -COM) ช่องเสียบสายวัดขั้วบวกกรณีวัดกำลังออกของสัญญาณความถี่เสียง (output terminal)

  38. การทำงานของเครื่องวัดการทำงานของเครื่องวัด

More Related