1 / 31

๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕

สรุปผลการจัดทำมาตรฐานข้อมูล เพื่อส่งต่อผู้ป่วยยามภัยพิบัติ รศ.ดร.อัศนีย์ ก่อตระกูล อ.สมโชค เรืองอิทธินันท์ อ.เทวา คำปาเชื้อ และ คณะวิจัย. ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕. การดำเนินการ. ผลสรุปกระบวนการส่งต่อผู้ป่วย. ผลสรุปกระบวนการส่งต่อผู้ป่วย. ความแตกต่างระหว่างยามปกติและยามภัยพิบัติ.

jaafar
Download Presentation

๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปผลการจัดทำมาตรฐานข้อมูลเพื่อส่งต่อผู้ป่วยยามภัยพิบัติรศ.ดร.อัศนีย์ ก่อตระกูล อ.สมโชค เรืองอิทธินันท์ อ.เทวา คำปาเชื้อ และคณะวิจัย ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕

  2. การดำเนินการ

  3. ผลสรุปกระบวนการส่งต่อผู้ป่วยผลสรุปกระบวนการส่งต่อผู้ป่วย

  4. ผลสรุปกระบวนการส่งต่อผู้ป่วยผลสรุปกระบวนการส่งต่อผู้ป่วย

  5. ความแตกต่างระหว่างยามปกติและยามภัยพิบัติความแตกต่างระหว่างยามปกติและยามภัยพิบัติ • โรงพยาบาลเครือข่ายที่มีการกำหนดไว้อาจจะไม่สามารถประสานงานได้ ถ้าอยู่ในพื้นที่ประสบภัย ดังนั้นต้องหาโรงพยาบาลที่เหมาะสมสำหรับผู้ป่วยโดยพิจารณาจากข้อมูลความพร้อมของโรงพยาบาล เพื่อนำมาใช้ในการประสานงานการส่งต่อผู้ป่วย • กรณีที่โรงพยาบาลต้นทางไม่มีพาหนะในการขนย้ายผู้ป่วย ต้องใช้ข้อมูลเครือข่ายเพื่อขอยานพาหนะเพื่อขนย้ายผู้ป่วย เนื่องจากการเดินทางอาจจะมีทั้ง ทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ • ยามภัยพิบัติเส้นทางการเดินทางมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา จำเป็นต้องใช้ข้อมูลเส้นทาง ข้อมูลภัยพิบัติ และข้อมูลแผนที่ เพื่อการวางแผนการเดินทาง

  6. Refinement Business Model ไม่มี 2.1.มีแพทย์หรือไม่ 1.ประสานการส่งต่อ A A มี B ไม่มี 2.2.มีห้องหรือไม่ B C 3.เตรียมการการส่งต่อผู้ป่วย มี D 4. ส่งต่อผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลปลายทาง 5.รับรักษา ไม่รับ 6.ประสานการส่งต่อ C 7.รับ/ไม่รับ D รับ 8.เตรียมการการส่งผู้ป่วยกลับ 9. ส่งต่อผู้ป่วยไปยัง โรงพยาบาลต้นทาง 10.รักษาต่อ

  7. Business Model • ไม่มีศัลยแพทย์หัวใจ • ไม่มีห้อง N • ไม่มีศัลยแพทย์หัวใจ • มีห้อง N รพ. A รพ. 3 รพ. 2 รพ. 1 Y • มีศัลยแพทย์หัวใจ • มีห้อง

  8. Business Model ไม่มี 1.ประสานการส่งต่อ 2.1.มีแพทย์หรือไม่ ไม่มี 2.1.มีแพทย์หรือไม่ ไม่มี 2.1.มีแพทย์หรือไม่ มี มี 2.2.มีห้องหรือไม่ ไม่มี 3.เตรียมการการส่งต่อผู้ป่วย 4. ส่งต่อผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลปลายทาง 5.รับรักษา

  9. Common Data Core Set • ข้อมูลความพร้อมของโรงพยาบาลหน้าที่ 1/36 • ข้อมูลบุคคลหน้าที่ 20/36 • ข้อมูลผู้ป่วยหน้าที่ 24/36 • ข้อมูลญาติหน้าที่ 28/36 • ที่อยู่หน้าที่ 28/36 • ข้อมูลเครือข่ายหน้าที่ 30/36 • ข้อมูลหน่วยงานหน้าที่ 32/36 • ข้อมูลยานพาหนะหน้าที่ 33/36 • ข้อมูลเส้นทางหน้าที่ 35/36

  10. ข้อมูลผู้ป่วย ข้อมูลตัดสินใจ • รพ รับ • เพศ • ยาที่แพ้ • กรุ๊ปเลือด • การวินิจฉัยเบื้องต้น • การรักษาเบื้องต้น • ความรุนแรงของอาการของผู้ป่วย 5 ระดับ • รพ ส่ง

  11. ข้อมูลบุคคล

  12. ข้อมูลผู้ป่วย

  13. HAVE(Hospital Availability Exchange) • HAVE คือ รูปแบบมาตรฐานของข้อมูลเพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลในช่วงภาวะฉุกเฉิน ซึ่งกำหนดโดย OASIS (Organization for the Advancement of Structured Information Standards) ซึ่งประกอบด้วย • สถานะของโรงพยาบาล • การให้บริการของโรงพยาบาล • ทรัพยากรของโรงพยาบาล OASIS (Organization for the Advancement of Structured Information Standards) • Emergency Data Exchange Language (EDXL) • - EDXL-HAVE

  14. HAVE - Elements Organization Emergency Department Status Hospital Bed Capacity Status Hospital Service Coverage Status Hospital Facility Status Hospital Resources Status

  15. Refer during DisasterHAVE - Example

  16. Refer during Disaster HAVE - Example

  17. Refer during Disaster HAVE Elements Organization Emergency Department Status Hospital Bed Capacity Status Service Coverage Status Hospital Facility Status Hospital Resources Status รพ. A รพ. B รพ. C

  18. การเชื่อมโยงระหว่างระบบการเชื่อมโยงระหว่างระบบ Refer Link ระบบฐานข้อมูลภัยพิบัติ HIS ระบบฐานเส้นทาง GIS ระบบฐานข้อมูลเครือข่าย

  19. การเชื่อมโยงระหว่างระบบการเชื่อมโยงระหว่างระบบ HIS Refer Link ระบบฐานข้อมูลภัยพิบัติ Interface Interface Interface ระบบเพื่อการ กู้ชีพ Middleware Services Interface Interface Interface Interface GIS ระบบฐานข้อมูลเครือข่าย ระบบฐานข้อมูลเส้นทาง

  20. แนวทางวิธีการจัดทำมาตรฐานเพื่อการเชื่อมโยงตามกรอบแนวทาง TH e-GIF

  21. สถาปัตยกรรมธุรกรรม (UMM, UML) • สถาปัตยกรรมข้อมูล (CCTS, UPCC, …) • รูปแบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (XML NDR) • มาตรฐานเทคนิคการเชื่อมโยง (XML, WS-*, ebXML) • สถาปัตยกรรมระบบงาน • สถาปัตยกรรมระบบเครือข่าย • สถาปัตยกรรมระบบคอมพิวเตอร์

  22. ตัวอย่าง แบบจำลองกระบวนการ UMM definition: ส่งต่อผู้ป่วย beginsWhen: เมื่อผู้ส่งต่อผู้ป่วยต้องการส่งใบส่งต่อผู้ป่วย precondition: เมื่อผู้ส่งต่อผู้ป่วยมีใบส่งต่อผู้ป่วยพร้อมส่ง endsWhen: เมื่อผู้รับการส่งต่อผู้ป่วยได้รับและตอบรับใบส่งต่อผู้ป่วย postCondition: เมื่อผู้รับการส่งต่อผู้ป่วยได้รับและเสร็จสิ้นกระบวนการ exceptions: คือข้อมูลไม่ถูกต้อง หรือ ไม่สามารถเชื่อมโยงได้ actions: เลือกผู้ป่วยที่ต้องการส่งต่อ เลือกโรงพยาบาลที่ส่งต่อและกดปุ่มส่งต่อผู้ป่วย

  23. ตัวอย่าง แบบจำลองกระบวนการ UMM (ต่อ) ระยะเวลาสูงสุดรอการตอบกลับ (timeToRespond): 10 วินาที ถ้าส่งไม่สำเร็จให้พยายามส่งกี่ครั้ง (retryCount): 3 จำเป็นต้องตรวจสอบสิทธิ์หรือไม่ (IsAuthorizationRequired): จำเป็นมาก จำเป็นต้องป้องกันการปฏิเสธการมีผลผูกพันธ์หรือไม่ (isNonRepudiationRequired):

  24. ตัวอย่างแบบจำลองข้อมูล (CCTS)

  25. ตัวอย่างแบบจำลองข้อมูล (CCTS) (ต่อ)

  26. รูปแบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์รูปแบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ผู้สืบค้นข้อมูล Response XML Request XML เจ้าของข้อมูล ข้อมูลผล การสืบค้น ข้อมูล เพื่อสืบค้น

  27. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (ต่อ)

  28. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (ต่อ) ตัวอย่างรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ของข้อมูลเครือข่าย สำหรับข้อมูลเตรียมความพร้อมการส่งต่อผู้ป่วยยามภัยพิบัติ

  29. ข้อกำหนดเว็บเซอร์วิสมาตรฐานต่างๆข้อกำหนดเว็บเซอร์วิสมาตรฐานต่างๆ OASIS/W3C standard

  30. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • เพิ่มขีดความสามารถในการแลกเปลี่ยนและใช้ข้อมูลร่วมกันระหว่างหน่วยงานภายในด้วยกันเองและหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง • ลดค่าใช้จ่ายในการใช้ข้อมูลร่วมกัน เมื่อมีการจัดทำมาตรฐานข้อมูลที่เป็นที่ยอมรับร่วมกันและประกาศเป็นมาตรฐานกลางจะช่วยลดค่าใช้จ่ายในการจัดทำรายการข้อมูลซ้ำ และไม่เป็นไปตามมาตรฐาน • ลดระยะเวลาในการดำเนินงาน ในการพัฒนาระบบสารสนเทศที่มีความต้องการใช้ข้อมูลร่วมกัน หรือแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันนั้น เมื่อสามารถจัดทำมาตรฐานข้อมูลและประกาศใช้แล้ว ก็จะสามารถลดระยะเวลาในการติดต่อประสานงานระหว่างหน่วยงานเพื่อขอใช้ข้อมูลลงได้ • เพิ่มโอกาสแห่งความสำเร็จในการแลกเปลี่ยนข้อมูล เพราะการจัดทำมาตรฐานข้อมูลและประกาศไว้ชัดเจนจะทำให้สามารถศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการได้ชัดเจนก่อน เริ่มโครงการทำให้โอกาสที่โครงการล้มเหลวน้อยลง • ลดผลกระทบเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดของข้อมูล

More Related