1 / 44

เงินแผ่นดิน คือ เงินของประชาชนทั้งชาติ

เงินแผ่นดิน คือ เงินของประชาชนทั้งชาติ. พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. งบประมาณ. เงินงบประมาณแผ่นดิน หมายถึง งบประมาณที่มหาวิทยาลัยได้รับจัดสรรจากสำนักงบประมาณตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี

Download Presentation

เงินแผ่นดิน คือ เงินของประชาชนทั้งชาติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เงินแผ่นดิน คือ เงินของประชาชนทั้งชาติ พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

  2. งบประมาณ • เงินงบประมาณแผ่นดิน หมายถึงงบประมาณที่มหาวิทยาลัยได้รับจัดสรรจากสำนักงบประมาณตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี • เงินนอกงบประมาณ หรือ งบประมาณเงินรายได้ หมายถึงงบประมาณที่ได้มาจากรายได้ค่าธรรมเนียมและค่าหน่วยกิต หรือรายได้อื่น ๆ เช่น ค่าปรับ รายได้จากการดำเนินงาน เป็นต้น ซึ่งมหาวิทยาลัยได้จัดสรรรายรับนั้นตามระเบียบว่าด้วยเงินรายได้ฯ และหลักเกณฑการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี • เงินรายได้แผ่นดิน หมายถึง เงินที่ส่วนราชการได้รับ และต้องนำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน เช่น รายได้จากการจำหน่ายครุภัณฑ์เสื่อมสภาพ • งบประมาณอื่น หมายถึง งบประมาณที่ไม่จัดอยู่เป็นงบประมาณแผ่นดินและเงินรายได้ เช่น เงินรับฝาก เงินกองทุน

  3. หมวดรายจ่ายตามงบประมาณหมวดรายจ่ายตามงบประมาณ • งบบุคลากร หมายถึง งบประมาณในหมวดรายจ่ายเงินเดือน ค่าจ้างประจำ และค่าจ้างชั่วคราว • งบดำเนินงาน หมายถึง หมวดรายจ่ายค่าตอบแทน ค่าใช้สอยและ ค่าวัสดุ และค่าสาธารณูปโภค • งบลงทุน หมายถึง หมวดรายจ่ายค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง • งบเงินอุดหนุน หมายถึง หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป (โครงการต่างๆ) • งบรายจ่ายอื่น หมายถึง หมวดรายจ่ายอื่น เช่น กองทุนสำรอง กองทุนคณะ

  4. ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม จัดงานและการประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ. 2549

  5. หลักเกณฑ์ • โครงการ / หลักสูตร การฝึกอบรมที่จัดหรือจัดร่วมกับหน่วยงานอื่น ต้องได้รับการอนุมัติจากหัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ • การเดินทางไปจัดฝึกอบรม(เจ้าหน้าที่) และการเข้ารับการฝึกอบรม (ผู้เข้ารับอบรม) ต้องขออนุมัติเดินทางไปราชการ การดูงาน :- การเพิ่มพูนความรู้ ประสบการณ์ด้วยการสังเกตการณ์ ซึ่งกำหนดไว้ในโครงการ/หลักสูตร หรือแผนการจัดการประชุมระหว่างประเทศ ให้มีการดูงาน ก่อน ระหว่าง หรือหลัง รวมถึงโครงการหลักสูตรที่มีเฉพาะการดูงานภายในประเทศ

  6. การฝึกอบรม :- การอบรม การประชุม / การสัมมนา ทางวิชาการหรือเชิงปฏิบัติการ การบรรยายพิเศษ การฝึกศึกษา หรือที่เรียกชื่ออย่างอื่นทั้งในประเทศและต่างประเทศ - มีโครงการหรือหลักสูตร - มีช่วงเวลาที่แน่นอน - มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบุคคลหรือเพิ่มประสิทธิภายในการปฏิบัติงาน - ไม่มีการรับปริญญาหรือประกาศนียบัตร

  7. ประเภทของการฝึกอบรม • ระดับต้น :- ผู้เข้าอบรมเกินกึ่งหนึ่งเป็นบุคลากรของรัฐ ซึ่งเป็นข้าราชการระดับ 1-2 หรือเทียบเท่า • ระดับกลาง :- ผู้เข้าอบรมเกินกึ่งหนึ่งเป็นบุคลากรของรัฐ ซึ่งเป็นข้าราชการระดับ 3-8 หรือเทียบเท่า • ระดับสูง :- ผู้เข้าอบรมเกินกึ่งหนึ่งเป็นบุคลากรของรัฐ ซึ่งเป็นข้าราชการระดับ 9 ขึ้นไป หรือเทียบเท่า • บุคคลภายนอก :- ผู้เข้าอบรมเกินกึ่งหนึ่งมิใช่บุคลากรของรัฐ และจัดฝึกอบรมได้เฉพาะในประเทศเท่านั้น

  8. ค่าใช้จ่ายและตกแต่งสถานที่ค่าใช้จ่ายและตกแต่งสถานที่ ค่าใช้จ่ายพิธีเปิด-ปิด ค่าวัสดุ เครื่องเขียน อุปกรณ์ฯลฯ เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็นเหมาะสม และประหยัด ยกเว้นค่า สมนาคุณวิทยากร ค่าอาหาร ค่าเช่าที่พักและค่าพาหนะ ให้ใช้ตามระเบียบนี้ ค่าใช้จ่ายที่ไม่ต้องทำตามระเบียบพัสดุได้แก่ ค่าสมนาคุณวิทยาการ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ค่าอาหาร ค่าเช่าที่พัก แต่ต้องทำตามระเบียบนี้ ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม

  9. ค่าสมนาคุณวิทยากร หลักเกณฑ์ การจ่ายเงิน

  10. อัตราค่าสมนาคุณวิทยากรอัตราค่าสมนาคุณวิทยากร  วิทยากรที่สังกัดส่วนราชการผู้จัดให้อยู่ในดุลพินิจของหัวหน้าส่วนราชการ แต่ไม่เกินข้อ 

  11. ค่าอาหาร เบิกเท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน (บาท)

  12. ค่าเช่าที่พัก (บาท : วัน : คน)

  13. ค่าลงทะเบียน  เบิกได้เท่าที่จ่ายจริง ตามที่หน่วยงานผู้จัดเรียกเก็บ โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของหัวหน้าส่วนราชการพิจารณาตาม ความจำเป็น เหมาะสม และประโยชน์ของทางราชการเป็นหลัก (ตามหนังสือ กค 0409.7/ว 51 ลว 18 มีนาคม 2548)

  14. อนุมัติ ขออนุมัติเบิกค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม (ก่อนการฝึกอบรม) นำเสนอ ตามกระบวนการบังคับบัญชา ขั้นตอนการเบิกค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมฯ EX. ค่าตอบแทนวิทยากร ค่าอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่ม ค่าใช้จ่ายอื่นตามระเบียบ กรณีมีค่าวัสดุ ค่าจ้างที่ต้องดำเนินการระเบียบพัสดุส่งให้พัสดุ รวบรวมใบเสร็จรับเงินเพื่อเบิกจ่าย ใบยืมเงิน แนบสำเนาบันทึกฯได้รับการอนุมัติแล้ว ขออนุมัติจัดโครงการฝึกอบรม (ผู้รับผิดชอบโครงการ) เบิกจ่ายตามขั้นตอน ของระบบ 3 มิติ ชดใช้ใบยืมเงิน ใบสำคัญ เงินสด (ถ้ามี) อนุมัติแล้ว ส่งเบิกที่งานการเงิน

  15. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2550

  16. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางในราชอาณาจักรค่าใช้จ่ายในการเดินทางในราชอาณาจักร สิทธิในการเบิกค่าใช้จ่าย • สิทธิในการรับค่าใช้จ่าย ตั้งแต่วันที่ได้รับอนุมัติให้เดินทาง • การอนุมัติเวลาก่อน/หลัง ตามความจำเป็น • ผู้ได้รับอนุมัติให้ลากิจ/ลาพักผ่อน ต้องขออนุมัติระยะเวลาดังกล่าวในการเดินทางด้วย

  17. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางในราชอาณาจักรค่าใช้จ่ายในการเดินทางในราชอาณาจักร • ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง • ค่าเช่าที่พัก • ค่าพาหนะ • ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องจ่ายเนื่องในการเดินทางไปราชการ

  18. ประเภท ก  ข้ามเขตจังหวัด นอกจังหวัดที่ตั้งสำนักงาน  จากอำเภออื่น ไป อำเภอเมืองในจังหวัดเดียวกัน ประเภท ข  ไปต่างอำเภอในจังหวัดเดียวกัน ยกเว้นอำเภอเมือง  ในอำเภอที่ตั้งสำนักงาน  ใน กทม. ที่ตั้งสำนักงาน ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง 

  19. อัตราเบี้ยเลี้ยงเดินทาง (เหมาจ่าย)

  20. การนับเวลาคำนวณค่าเบี้ยเลี้ยงการนับเวลาคำนวณค่าเบี้ยเลี้ยง • ออกจากที่อยู่หรือที่ทำงานปกติจนกลับถึงวันที่อยู่หรือที่ทำงานปกติ • กรณีพักแรม  24 ชั่วโมงคิดเป็น 1 วัน  เศษ เกิน 12 ชั่วโมง นับเป็น 1 วัน • กรณีไม่พักแรม  เศษ เกิน 12 ชั่วโมง นับเป็น 1 วัน  เกิน 6 ชั่วโมง นับเป็นครึ่งวัน * กรณีการลากิจ/ลาพักผ่อน ให้นับเบี้ยเลี้ยงตั้งแต่เริ่มปฏิบัติงาน จนถึง สิ้นสุดปฏิบัติงาน

  21. ค่าเช่าที่พัก (ตามมติกรรมการบริหารฯ)  ห้ามเบิก กรณีพักในยานพาหนะ / ทางราชการจัดที่พักให้

  22. ค่าพาหนะ  • ค่าโดยสาร ค่าเช่ายานพาหนะ • ค่าเชื้อเพลิง ค่าระวางบรรทุก • ค่าจ้างคนหาบหามสิ่งของของผู้เดินทาง ยานพาหนะประจำทาง :- รถไฟ รถโดยสาร เรือกลประจำทาง และยานพาหนะอื่นๆ - บริการบุคคลทั่วไป - เส้นทางแน่นอน - อัตราค่าโดยสารและค่าระวางแน่นอน

  23. การเบิกจ่ายค่าพาหนะ  เบิกจ่ายได้  เบิกจ่ายไม่ได้ * เงื่อนไข ** หลักฐานการเบิกจ่าย

  24. * การเบิกค่าพาหนะ * การเดินทางโดยรถไฟ เฉพาะรถด่วนพิเศษชั้นที่ 1 นั่งนอนปรับอากาศ (บน อ.ป.) ให้เบิกได้เฉพาะระดับ 6 ขึ้นไป (ให้แนบกากตั๋วเวลาเบิกจ่ายด้วย) ** หลักฐานการเบิกค่าโดยสารเครื่องบิน- กรณีจ่ายเป็นเงินสดให้ใช้หลักฐานใบเสร็จรับเงิน+กากตั๋ว - กรณีซื้อ E-Ticketให้ใช้ใบรับเงินที่แสดงรายละเอียดการเดินทาง (Itinery Receipt) • กรณีเบิกค่าโดยสารประจำทางและค่ารถไฟ ใช้แบบ บก. 111 แทนใบเสร็จรับเงิน

  25. ค่าพาหนะรับจ้าง (TAXI) หลักเกณฑ์ 1. ไม่มียานพาหนะประจำทาง 2. มีพาหนะประจำทาง แต่มีเหตุจำเป็นและต้องชี้แจง 3. ระดับ 6 ขึ้นไป 3.1 ไป – กลับ ระหว่างที่พัก หรือที่ทำงานกับสถานียานพาหนะประจำทาง / สถานที่จัดยานพาหนะ 3.2 ไป – กลับ ระหว่างที่พัก กับสถานที่ปฏิบัติราชการภายในเขตจังหวัดเดียวกัน วันละไม่เกิน 2 เที่ยว (ยกเว้นการสอบคัดเลือก) 3.3 ไปราชการในเขต กทม. 4. ระดับ 5 ลงมา กรณีมีสัมภาระเดินทาง

  26. ค่าพาหนะรับจ้างข้ามเขตจังหวัดค่าพาหนะรับจ้างข้ามเขตจังหวัด พาหนะส่วนตัว • ต้องได้รับอนุมัติจากผู้บังคับบัญชาก่อนเดินทาง (ระบุยี่ห้อรถ ทะเบียนรถ) • เงินชดเชยเป็นค่าพาหนะเหมาจ่าย - รถยนต์กิโลเมตรละ 4 บาท - รถจักรยานยนต์กิโลเมตรละ 2 บาท

  27. ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นในการเดินทางไปราชการค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นในการเดินทางไปราชการ :- จำเป็นต้องจ่าย หากไม่จ่ายไม่อาจเดินทางถึงจุดหมาย :- ไม่มีกฎหมายระเบียบข้อบังคับกำหนดไว้เฉพาะ :- ไม่เกี่ยวกับเนื้องานที่ปฏิบัติ EX: ค่าภาษีสนามบิน ค่าธรรมเนียม VISA

  28. ส่งงานบริหารธุรการ ออกที่หนังสือ นำเสนอ ตามกระบวนการบังคับบัญชา การขออนุมัติเดินทาง และเบิกค่าใช้จ่ายกรณีมีหนังสือสั่งการ ส่งงานบริหารธุรการ ออกที่ / นำเสนอตามกระบวนการ รายงานผลการปฏิบัติงาน แนบหลักฐานเบิกจ่าย ใบยืมเงิน แนบสำเนาบันทึกฯได้รับการอนุมัติแล้ว บันทึกแบบฟอร์ม ขออนุมัติเดินทาง แนบหนังสือสั่งการ เบิกจ่ายตามขั้นตอน ของระบบ 3 มิติ ชดใช้ใบยืมเงิน ใบสำคัญ เงินสด (ถ้ามี) อนุมัติแล้ว ส่งเบิกที่งานการเงิน

  29. ส่งงานบริหารธุรการ ออกที่หนังสือ นำเสนอ ตามกระบวนการบังคับบัญชา การขออนุมัติเดินทาง และเบิกค่าใช้จ่ายกรณีไม่มีหนังสือสั่งการ อนุมัติ / แบบฟอร์มขออนุมัติเดินทาง + บันทึกที่ได้รับอนุมัติ ส่งงานบริหารธุรการ ออกที่ / นำเสนอตามกระบวนการ รายงานผลการปฏิบัติงาน แนบหลักฐานเบิกจ่าย ใบยืมเงิน แนบสำเนาบันทึกฯได้รับการอนุมัติแล้ว บันทึกข้อความขอเดินทางไปราชการ เหตุผล/ความจำเป็น เบิกจ่ายตามขั้นตอน ของระบบ 3 มิติ ชดใช้ใบยืมเงิน ใบสำคัญ เงินสด (ถ้ามี) อนุมัติแล้ว ส่งเบิกที่งานการเงิน

  30. ค่าสอนพิเศษ - ภาคสมทบ

  31. จัดทำบันทึกข้อความขออนุมัติเบิกค่าสอนพิเศษ (ต้นภาคเรียน) งานบริหารและธุรการ ดำเนินการ ขั้นตอนการเบิกค่าสอนพิเศษ (ปลายภาคเรียน) ผู้สอนทำใบเบิกเงินค่าสอนพิเศษ (แบบฟอร์ม) ผู้สอนส่งใบเบิกค่าสอนพิเศษที่การเงินฯ (ตรวจสอบ) ตรวจสอบ นำเสนอคณบดี/อธิการ ลงนาม งานการเงินฯ ดำเนินการ รวบรวมใบเบิกค่าสอน เบิกจ่ายตามขั้นตอนระบบ 3 มิติ

  32. ค่ารับรอง :- ค่าเลี้ยงรับรอง ค่าที่พัก ค่ายานพาหนะ ค่าจัดการแสดงหรือเข้าชมการแสดงเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทย และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการรับรองชาวต่างประเทศ ให้เบิกจ่ายได้เฉพาะบุคคล หรือ คณะบุคคล ดังนี้ • เจ้าหน้าที่ของรัฐบาลต่างประเทศที่มาในนามของรัฐบาล องค์การ มูลนิธิ และสถาบันต่างประเทศ • บุคคลที่สถาบันเชิญมาร่วมดำเนินกิจการในฐานะใดฐานะหนึ่งซึ่งมิใช่ข้าราชการ

  33. ค่าใช้จ่ายที่เบิกจ่ายเป็นค่ารับรองค่าใช้จ่ายที่เบิกจ่ายเป็นค่ารับรอง  ทั้งนี้ พิจารณาตามความจำเป็น เหมาะสม และประโยชน์ของทางราชการเป็นสำคัญ

  34. ขั้นตอนการเบิกค่ารับรองขั้นตอนการเบิกค่ารับรอง จัดทำบันทึกข้อความขออนุมัติในหลักการ ระบุเหตุผลและความจำเป็น ก่อนการรับรอง (ทุกครั้ง) คณบดีลงนามในหนังสือ / ออกที่ / นำเสนอตามลำดับขั้นบังคับบัญชา ยืมเงิน เสนออธิการบดี อนุมัติ หลังการรับรอง รวบรวมใบสำคัญ ใบเสร็จรับเงิน แนบบันทึกเพื่อเบิกจ่าย ส่งชดใช้ใบยืม / เงินสดคงเหลือ ที่การเงินฯ

  35. ค่าเลี้ยงรับรอง :- ค่าอาหาร ค่าเครื่องดื่มเบิกจ่ายได้เฉพาะบุคคลหรือคณะบุคคล ดังนี้ • เจ้าหน้าที่หรือผู้แทนของรัฐบาลต่างประเทศที่มาในนามของรัฐบาล องค์การ มูลนิธิหรือสถาบันต่างประเทศ • บุคคลที่ปฏิบัติงานหรือได้รับเชิญให้ร่วมงานหรือให้ความช่วยเหลือมหาวิทยาลัยในฐานะใดฐานะหนึ่ง (ไม่ใช่ปฏิบัติงานในฐานะอาจารย์พิเศษ ผู้บรรยายพิเศษหรือการยืมตัวมาช่วยปฏิบัติราชการ) • บุคคลหรือคณะบุคคลที่มาในนามกระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการอื่น • ข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ของสถาบันที่ต้องปฏิบัติงาน หรือได้รับเชิญให้ร่วมเลี้ยงรับรอง • ผู้มาติดต่อราชการกับผู้บริหารตั้งแต่ระดับกองขึ้นไปหรือเทียบเท่าขึ้นไป

  36. เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริงไม่เกินอัตราดังนี้เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริงไม่เกินอัตราดังนี้ • ค่าเลี้ยงรับรองมื้อกลางวัน ไม่เกินคนละ 200 บาท ต่อมื้อ • ค่าเลี้ยงรับรองมื้อเย็น ไม่เกินคนละ 400 บาท ต่อมื้อ • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ตามจ่ายจริง ไม่เกิน 60 บาทต่อคนต่อการเลี้ยงรับรองหนึ่งครั้ง หลักฐานการจ่ายเงิน ข้อ 1, 2 ให้ใช้ใบเสร็จรับเงิน ข้อ 3 ให้ใช้ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน (แบบ บก. 111)

  37. ขั้นตอนการเบิกค่าเลี้ยงรับรองขั้นตอนการเบิกค่าเลี้ยงรับรอง จัดทำบันทึกข้อความขออนุมัติในหลักการ ระบุเหตุผลและความจำเป็น ก่อนการเลี้ยงรับรอง (ทุกครั้ง) งานบริหารธุรการฯ ออกที่ / นำเสนอตามลำดับขั้นบังคับบัญชา เสนอคณบดี อนุมัติ ยืมเงิน จัดทำแบบฟอร์มขออนุมัติเบิกค่าเลี้ยงรับรอง เสนอตามลำดับขั้นบังคับบัญชา ส่งชดใช้ใบยืม / เงินสดคงเหลือ ที่การเงินฯ

  38. ค่าของที่ระลึก ดอกไม้ พวงหรีดและพวงมาลา ค่าของที่ระลึก ครั้งละ/รายละไม่เกิน 1,000 บาท สำหรับมอบให้ • ผู้ให้ความช่วยเหลือในฐานะใดฐานะหนึ่ง เป็นประโยชน์ต่อราชการ แต่มิใช่ได้รับเงินค่าตอบแทนอื่นใดจากทางราชการอยู่แล้ว • บุคคลหรือหน่วยงานในต่างประเทศ ที่ผู้บริหารระดับคณบดีขึ้นไปติดต่อขอความร่วมมือในกิจการ หรือเข้าเยี่ยมชมกิจการ • บุคคลที่เข้าเยี่ยมชมกิจการของมหาวิทยาลัย • บุคลากรของมหาวิทยาลัยที่เกษียณอายุราชการ

  39. ค่าช่อดอกไม้หรือกระเช้าดอกไม้ ให้เบิกจ่ายสำหรับมอบให้ผู้มีเกียรติในโอกาสอันสมควรหรือตามประเพณีนิยม ครั้งละ/ รายละ ไม่เกิน 1,000 บาท • ค่าพวงหรีด ให้เบิกจ่ายสำหรับคารวะศพบุคคลซึ่งเสียชีวิตและสมควรให้เกียรติต่อผู้เป็นญาติ ได้ครั้งละ/รายละ ไม่เกิน 1,000 บาท • ค่าพวงมาลา ให้เบิกจ่ายสำหรับคารวะเนื่องในโอกาสตามประเพณีนิยมได้ครั้งละ/รายละไม่เกิน 2,000 บาท

  40. ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ • วันทำการปกติ ชั่วโมงละ 30 บาท ปฏิบัติงานไม่น้อยกว่า 3.5 ชั่วโมง เบิกจ่ายได้ไม่เกิน 100 บาท • วันหยุดราชการ ชั่วโมงละ 30 บาท ปฏิบัติงานไม่น้อยกว่า 7 ชั่วโมงไม่รวมเวลาหยุดพัก (12.00 – 13.00 น.) เบิกจ่ายได้ไม่เกินวันละ 200 บาท

  41. เงินทดรองราชการ • เงินทดรองราชการหมุนเวียนภายในหน่วยงาน (เงินสดย่อย) • เงินเดือน ค่าจ้าง ที่ยังไม่สามารถตั้งฎีกาเบิกจ่ายได้ • ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ • การซื้อ หรือการจ้าง ซึ่งไม่สามารถซื้อหรือจ้างเป็นเงินเชื่อได้ • เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาบุตร และการรักษาพยาบาล • รายจ่ายที่ถือเป็นรายจ่ายเมื่อได้รับการแจ้งหนี้ • ค่าใช้จ่ายสำหรับโครงการจัดฝึกอบรม ประชุม สัมมนาที่หน่วยงานจัด • ค่าใช้จ่ายเพื่อส่งเสิรมกิจกรรมนักศึกษา (เฉพาะกองกิจการนักศึกษา)

  42. การยืมเงินทดรองราชการการยืมเงินทดรองราชการ ผู้ยืมจัดทำใบยืมเงิน 2 ฉบับ แนบสำเนาเอกสาร ที่อนุมัติแล้ว ส่งตรวจสอบสถานะ การยืมเงินที่การเงิน ผู้ยืมรับเงินยืม ที่การเงินคณะ อนุมัติแล้ว ส่งการเงินเพื่อจ่ายเงิน นำเสนอตามลำดับขั้นบังคับบัญชา ผู้ยืมส่งชดใช้เงินยืมแล้วแต่กรณี การเงิน ลงบัญชีชดใช้ใบสำคัญ เบิกจ่ายตามขั้นตอน ระบบบัญชี 3 มิติ  ถ้าไม่ส่งใช้เงินยืมฉบับเก่า ไม่สามารถยืมฉบับใหม่ได้

  43. การจัดซื้อ/จ้าง ผู้ที่มีความประสงค์จะซื้อวัสดุ แจ้งความประสงค์ ซื้อ/จ้างที่พัสดุ พัสดุจัดทำ ใบเสนอซื้อ / จ้าง ใบขออนุมัติ ซื้อ/จ้าง จนท.พัสดุเท่านั้น ส่งเบิก ที่การเงิน กรรมการ ตรวจรับพัสดุ ใบสั่งซื้อ/ สั่งจ้าง  ต้องดำเนินการขออนุมัติก่อนการซื้อพัสดุทุกครั้ง ซื้อก่อนขออนุมัติถือว่าผิดระเบียบ

  44. การจัดซื้อ/จ้าง ผู้ที่มีความประสงค์จะซื้อวัสดุ แจ้งความประสงค์ ซื้อ/จ้างที่พัสดุ พัสดุจัดทำ ใบเสนอซื้อ / จ้าง ใบขออนุมัติ ซื้อ/จ้าง จนท.พัสดุเท่านั้น ส่งเบิก ที่การเงิน กรรมการ ตรวจรับพัสดุ ใบสั่งซื้อ/ สั่งจ้าง  ต้องดำเนินการขออนุมัติก่อนการซื้อพัสดุทุกครั้ง ซื้อก่อนขออนุมัติถือว่าผิดระเบียบ

More Related