1 / 41

เงินนอกงบประมาณ

เงินนอกงบประมาณ. The Office of off-Budgetary Management. กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ. “การบริหารเงินนอกงบประมาณ”. โดย พชร อนันตศิลป์ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านพัฒนาเงินนอกงบประมาณ. nonbuddg@yahoo.com. เงินนอกงบประมาณคืออะไร ?. กองกำกับและพัฒนาระบบเงินน อกงบประมาณ.

ivana
Download Presentation

เงินนอกงบประมาณ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เงินนอกงบประมาณ The Office of off-Budgetary Management กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ “การบริหารเงินนอกงบประมาณ” โดย พชร อนันตศิลป์ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านพัฒนาเงินนอกงบประมาณ nonbuddg@yahoo.com

  2. เงินนอกงบประมาณคืออะไร ? กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  3. ทำไมต้องมีเงินนอกงบประมาณ?ทำไมต้องมีเงินนอกงบประมาณ? กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  4. เงินนอกงบประมาณ ในการกำกับดูแล • พ.ร.บ.เงินคงคลัง 2491 • เงินทุนหมุนเวียน • เงินทดรองราชการ • เงินฝาก เช่น เงินฝากค่าใช้จ่ายเก็บภาษีท้องถิ่น เงินค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานการกงสุล เงินค่าใช้จ่ายในการบริหารที่ราชพัสดุ • พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ 2502 • เงินบริจาค • เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ • เงินบูรณะทรัพย์สิน • เงินรายรับสถานพยาบาล/สถานศึกษา • เงินที่ได้รับในลักษณะเงินผลพลอยได้ ข้อบังคับ ระเบียบ มาตรา 24 พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา 4, 12,13พระราชบัญญัติ เงินคงคลัง พ.ศ. 2491 กรมบัญชีกลาง ที่มาของเงินนอกงบประมาณ และขอบเขตกำกับดูแล กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  5. โครงสร้างเงินนอกงบประมาณในประเทศไทยโครงสร้างเงินนอกงบประมาณในประเทศไทย กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  6. ประเภทของเงินนอกงบประมาณที่กรมบัญชีกลางกำกับดูแลประเภทของเงินนอกงบประมาณที่กรมบัญชีกลางกำกับดูแล กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  7. มูลค่าเงินนอกงบประมาณมูลค่าเงินนอกงบประมาณ ปีงบประมาณ 2552-2556 กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  8. ระบบการบริหารเงินนอกงบประมาณ (ทุนหมุนเวียน) สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ กลุ่มพัฒนาเงินนอกงบประมาณ

  9. 2.อนุมัติประมาณการรายจ่าย2.อนุมัติประมาณการรายจ่าย 1. แนวทางการจัดตั้ง 3.ประเมินผลการดำเนินงาน 4.การยุบรวม/เลิก เครื่องมือที่ใช้ในการบริหาร เงินนอกงบประมาณ เงินทุนหมุนเวียน 2.1 อำนาจกระทรวงการคลัง 2.2 อำนาจคณะกรรมการ 5.การรายงานตาม รธน. 2550 ม. 170 กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  10. ระบบการบริหารเงินนอกงบประมาณ (เงินฝาก) สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ กลุ่มพัฒนาเงินนอกงบประมาณ

  11. 5. การรายงานตาม รธน. 2550 ม. 170 เครื่องมือที่ใช้ในการบริหาร เงินนอกงบประมาณ ประเภทเงินฝาก 2. การพิจารณาอนุมัติ 2.1 แผนประมาณการรับ-จ่าย 2.2 ประมาณการรายจ่ายประจำปี 3. การให้ความตกลงนอกเหนือระเบียบ 1. การพิจารณายกเว้นการนำเงินส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน 4. การติดตามการ ใช้จ่ายเงินตามแผน กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  12. เสริมสร้างฐานะการคลัง และบริหารเงินนอกงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ เสริมฐานะทางการคลัง การบริหารเงินนอกงบประมาณ อยู่ภายใต้กรอบวินัยการคลัง ผลลัพธ์ที่คาดหวัง บริหารรายจ่ายภาครัฐให้เกิด ประโยชน์สูงสุด สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  13. เงินฝาก • หมายถึง เงินที่กระทรวงการคลังรับฝากไว้ และจ่ายคืนตามคำขอของผู้ฝาก ตามข้อบังคับ และระเบียบของกระทรวงการคลัง เงินที่ส่วนราชการจะนำฝากต้องไม่เข้าลักษณะดังต่อไปนี้ (1) เงินงบประมาณ (2) เงินที่มีบัญชีเงินทุนหมุนเวียน (3) เงินรายได้แผ่นดิน ****เว้นแต่จะได้รับความตกลงจากกระทรวงการคลัง **** • ที่มาของเงิน • พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 • พ.ร.บ. เงินคงคลัง พ.ศ. 2491 กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  14. พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 1. เงินบริจาค • หมายถึง เงินซึ่งมีผู้มอบให้ส่วนราชการโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ส่วนราชการใช้จ่ายในกิจการของส่วนราชการนั้น หรือเป็นเงินที่เกิดจากทรัพย์สินซึ่งมีผู้มอบให้ เพื่อหาดอกผลใช้จ่ายในกิจการของส่วนราชการนั้น กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  15. พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 2. เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ • หมายถึง เงินที่ได้รับตามโครงการช่วยเหลือหรือร่วมมือกับรัฐบาลต่างประเทศ องค์การสหประชาชาติ ทบวงการชำนัญพิเศษแห่งสหประชาชาติ องค์การระหว่างประเทศอื่นใด หรือบุคคลใดไม่ว่าจะเป็นเงินกู้หรือเงินให้เปล่า รวมทั้งเงินที่ส่วนราชการได้รับสืบเนื่องจากโครงการช่วยเหลือหรือร่วมมือเช่นว่านั้น • ได้รับการช่วยเหลือผ่านสำนักงานความร่วมมือเพื่อ การพัฒนาระหว่างประเทศ (กรมวิเทศสหการ เดิม)ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบของสำนักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ • ได้รับการช่วยเหลือโดยตรง ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการโดยอนุโลม กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  16. พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 2. เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ (ต่อ) • หนังสือกระทรวงการคลัง • ที่ 53354/2503 ลว. 6 ธ.ค. 2503 เรื่อง รายรับตามโครงการช่วยเหลือหรือความร่วมมือกับรัฐบาลต่างประเทศ • ที่ กค 0502/36258 ลว. 30 ก.ย. 2523 เรื่อง รายรับตามโครงการช่วยเหลือหรือความร่วมมือกับรัฐบาลต่างประเทศ • ที่ กค 0502/18629 ลว. 25 พ.ค. 2524 เรื่อง ซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับรายรับตามโครงการช่วยเหลือหรือความร่วมมือกับรัฐบาลต่างประเทศ กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  17. พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 3. เงินบูรณะทรัพย์สิน • หมายถึง เงินที่ได้รับในลักษณะชดใช้ความเสียหาย หรือสิ้นเปลืองแห่งทรัพย์สิน และจำเป็นต้องจ่ายเพื่อบูรณะทรัพย์สินหรือจัดให้ได้ทรัพย์สินคืนมา • หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเงินรายรับเพื่อบูรณะทรัพย์สิน • หนังสือกรมบัญชีกลางที่ กค 0409.3/ว 503 ลว. 19 ธ.ค. 48 • มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2549 • อนุญาตเป็นหลักการให้นำเงินที่ได้รับในลักษณะค่าชดใช้ฯ นำเงินที่ได้รับดังกล่าวไปใช้จ่าย…….โดยไม่ต้องนำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  18. พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 3. เงินบูรณะทรัพย์สิน (ต่อ) • รายการที่กระทรวงการคลังอนุมัติหลักการ ประกอบด้วย • การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ครั้งละไม่เกิน 10 ล้านบาท • การริบหลักประกันสัญญา กรณีที่คู่สัญญาปฏิบัติผิดสัญญาหรือไม่ปฏิบัติตามสัญญา ครั้งละไม่เกิน 1 ล้านบาท • ได้รับชดใช้ความเสียหายที่เกิดจากการกระทำละเมิดครั้งละไม่เกิน 1 ล้านบาท • เงินบำรุงหรือเงินสมทบค่าน้ำหรือค่าไฟฟ้า ในอัตราร้อยละ 50 ของเงินที่ได้รับจากการให้หน่วยงานภาครัฐใช้สถานที่ กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  19. พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 3. เงินบูรณะทรัพย์สิน (ต่อ) • การเก็บรักษาและการใช้จ่ายเงินบูรณะทรัพย์สิน • ให้นำฝากกระทรวงการคลัง ในรหัสบัญชีเงินฝาก xx 770 • การใช้จ่ายหรือก่อหนี้ผูกพันได้เฉพาะเพื่อการบูรณะทรัพย์สินหรือจัดให้ได้ทรัพย์สินคืนมา • เก็บไว้ใช้จ่ายงวดละไม่เกิน 2 ปีงบประมาณ โดยถือวันทำการสุดท้ายของปีงบประมาณที่เป็นเลขคู่ • หากมีเงินเหลือจากการบูรณะทรัพย์สินแล้ว ให้นำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  20. พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 4. เงินรายได้สถานศึกษา • เงินรายได้ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่เป็นนิติบุคคล ตามระเบียบสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ว่าด้วยการบริหารจัดการเกี่ยวกับเงินรายได้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล ในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2549 • *ใช้กับสถานศึกษาในสังกัด สพฐ.* • เงินรายได้สถานศึกษา หมายถึง บรรดารายได้ ผลประโยชน์ที่เกิดจากที่ราชพัสดุ • เบี้ยปรับที่เกิดจากการผิดสัญญาลาศึกษา และเบี้ยปรับที่เกิดจาการผิดสัญญาการซื้อทรัพย์สินหรือจ้างทำของที่ดำเนินการโดยใช้เงินงบประมาณ เงินที่มีผู้มอบให้ และเงินหรือผลประโยชน์อื่นที่สถานศึกษาได้รับไว้เป็นกรรมสิทธิ์ แต่ไม่รวมถึงงบประมาณรายจ่าย กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  21. พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 4. เงินรายได้สถานศึกษา (ต่อ) • เงินรายได้ของสถานศึกษาของรัฐที่ไม่เป็นนิติบุคคล ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินรายได้สถานศึกษาของรัฐที่ไม่เป็นนิติบุคคล พ.ศ. 2546 • *ใช้กับสถานศึกษาของรัฐที่ไม่เป็นนิติบุคคล แต่ไม่รวมสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงกลาโหม* • เงินรายได้สถานศึกษา หมายถึง บรรดารายได้ ผลประโยชน์ที่เกิดจากจัดหาประโยชน์ในที่ราชพัสดุซึ่งได้ดำเนินการตามกฎหมายที่ราชพัสดุ และเงินหรือผลประโยชน์อื่นที่สถานศึกษาได้รับไว้เป็นกรรมสิทธิ์ แต่ไม่รวมถึงเงินงบประมาณรายจ่าย กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  22. พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 5. เงินรายรับสถานพยาบาล • หมายถึง เงินทั้งปวงที่สถานพยาบาล หน่วยบริการ (ในสังกัดต่าง ๆ) ได้รับไว้เป็นกรรมสิทธิ์ เนื่องจากการดำเนินงานในกิจการ หรือตามกิจกรรม หรือดำเนินงานตามหน้าที่ ของสถานพยาบาลหรือหน่วยบริการ นอกเหนือจากเงินงบประมาณรายจ่าย กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  23. พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 6. เงินที่ได้รับในลักษณะผลพลอยได้จากการ ปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ หมายถึง เงินหรือผลประโยชน์ที่หน่วยงานได้รับจากการดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการนั้น ๆ เช่น เงินผลพลอยได้จากการฝึกวิชาชีพและการใช้แรงงานผู้ต้องขังของกรมราชทัณฑ์ กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  24. พ.ร.บ. เงินคงคลัง พ.ศ. 2491 มาตรา 4บัญญัติว่า บรรดาเงินทั้งปวงที่พึงชำระให้แก่รัฐบาล ไม่ว่าหัวหน้าส่วนราชการที่ได้เก็บหรือรับเงินนั้น มีหน้าที่ควบคุมให้ส่งเข้าบัญชีเงินคงคลังที่ 1 หรือส่งคลังจังหวัด หรือส่งคลังอำเภอตามกำหนดเวลา และข้อบังคับที่รัฐมนตรีกำหนด โดยไม่หักไว้เพื่อการใด ๆ เลย วรรคสอง รัฐมนตรีมีอำนาจกำหนดข้อบังคับ อนุญาตให้หัวหน้าส่วนราชการใด ๆ หักรายจ่ายจากเงินที่จะต้องส่งเข้าบัญชีเงินคงคลังที่ 1 หรือส่งคลังจังหวัดหรือคลังอำเภอ ได้ในกรณีดังนี้ • รายจ่ายที่หักนั้นเป็นรายจ่ายที่มีกฎหมายอนุญาตให้จ่ายได้ • รายจ่ายที่จำเป็นต้องจ่ายตามระเบียบที่ได้รับความตกลงจากกระทรวงการคลัง เพื่อค่าสินบนรางวัล หรือค่าใช้จ่ายในการจัดให้ได้มาซึ่งเงินอันพึงต้องชำระให้แก่รัฐบาล • รายจ่ายที่ต้องจ่ายคืนให้แก่บุคคลใด ๆ เพราะเป็นเงินอันไม่พึงชำระให้แก่รัฐบาล กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  25. การบริหารเงินฝาก กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  26. การบริหารเงินฝาก (ต่อ) การเก็บรักษา • ให้นำฝากกระทรวงการคลัง • เงินสดสำรองจ่าย ณ ที่ทำการ หรือฝากธนาคารพาณิชย์ให้ขอทำความตกลงกับกระทรวงการคลัง การใช้จ่าย ต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ เบิกจ่ายได้กรณีที่พึงจ่ายได้จากเงินงบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้างต้องเป็นไปตามระเบียบพัสดุฯ นอกเหนือจากระเบียบกำหนดให้ขอตกลงกับกระทรวงการคลัง กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  27. การบริหารเงินฝาก (ต่อ) การบัญชี ให้ถือปฏิบัติตามระบบบัญชีของส่วนราชการ เว้นแต่จะได้รับอนุมัติจากกระทรวงการคลังให้ปฏิบัติเป็นอย่างอื่น การรายงาน เมื่อปิดบัญชีประจำปีแล้ว ให้ส่งงบการเงินไปให้สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินตรวจสอบรับรองภายในเก้าสิบวันนับแต่วันสิ้นปีงบประมาณหรือตามที่ระเบียบกำหนด เมื่อสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้ตรวจรับรองงบการเงินแล้วให้ส่งงบการเงินที่รับรองแล้ว ให้กรมบัญชีกลางทราบภายในสามสิบวันนับแต่วันที่สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้รับรองงบการเงิน กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  28. การบริหารเงินฝาก (ต่อ) การนำเงินส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน มีเงินเหลือเกินความจำเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ อาจจะพิจารณาให้นำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน ตามจำนวนที่เห็นสมควรก็ได้ หรือ เมื่อสิ้นปีงบประมาณมีเงินคงเหลือเท่าใด ให้นำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน ภายใน 3 เดือนแรกของปีงบประมาณถัดไป การติดตามผลการดำเนินงาน ทำโครงการติดตามการใช้จ่ายเงินของส่วนราชการ ว่าเป็นไปตามเป้าหมาย มีประสิทธิภาพ มีปัญหาหรืออุปสรรคอย่างไร หรือไม่ เพื่อจะได้นำปัญหาต่าง ๆ มาดำเนินการแก้ไข กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  29. การรายงานการรับและการใช้จ่ายเงิน ตามมาตรา 170 แห่งรัฐธรรมนูญฯ • มาตรา 170 แห่งรัฐธรรมนูญฯ • กำหนดให้เงินรายได้ของหน่วยงานของรัฐใดที่ไม่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน ให้หน่วยงานของรัฐนั้นทำรายงานการรับและการใช้จ่ายเงินดังกล่าวเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเมื่อสิ้นปีงบประมาณทุกปี และให้คณะรัฐมนตรีทำรายงานเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาต่อไป • กระบวนการ • กรณีจัดทำงบการเงิน • กรณีไม่จัดทำงบการเงิน กรมบัญชีกลาง การรายงาน • หน่วยงานของรัฐ • ทุนหมุนเวียน • เงินฝาก • หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ • องค์การมหาชน • หน่วยงานของรัฐอื่นที่มีฐานะเป็นนิติบุคคล • ภายใน 60 วันนับแต่สิ้นปีงบประมาณ • คณะรัฐมนตรี • สภาผู้แทนราษฎร • วุฒิสภา กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  30. เงินนอกงบประมาณ ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 (กองทุนเพื่อการสืบสวนและสอบสวนคดีอาญา) กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  31. เงินฝาก ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  32. หัวข้อที่วิชาที่ได้รับมอบหมายหัวข้อที่วิชาที่ได้รับมอบหมาย • เงินบูรณะทรัพย์สิน • เงินที่ได้รับอุดหนุนจากท้องถิ่น เงินบริจาค กองทุนสวัสดิการ • เงินรายรับของสถานศึกษาซึ่งไม่เป็นนิติบุคคล • เงินประกันตัวผู้ต้องหาของสถานีตำรวจ • เงินรางวัลเจ้าหน้าที่ตำรวจซึ่งปฏิบัติหน้าที่ควบคุมจารจร • เงินสินบนรางวัลและค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน • เงินค่าธรรมเนียมในการสอบแข่งขัน

  33. เงินฝากเพื่อบูรณะทรัพย์สินเงินฝากเพื่อบูรณะทรัพย์สิน • หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเงินรายรับเพื่อบูรณะทรัพย์สิน • หนังสือกรมบัญชีกลางที่ กค 0409.3/ว 503 ลว. 19 ธ.ค. 48 • หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค 0427/ว 326 ลว. 26 ก.ย.54 1. ก่อหนี้ผูกพันไว้แล้ว เก็บไว้เบิกจ่ายได้ภายใน 3 เดือน นับจากวันสิ้นสุดสัญญา 2. เงินสมทบค่าน้ำค่าไฟ ที่ยังไม่ได้รับแจ้งหนี้ หรือแจ้งหนี้แล้วแต่ยังไม่ได้ ชำระหนี้ ให้เก็บไว้เบิกจ่ายได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม ของปีงบประมาณที่เป็น เลขคู่นั้น 3. เงินที่ได้รับจากการเวนคืน ริบหลักประกันสัญญา การกระทำละเมิด ที่ได้รับ ระหว่าง 1 ก.ค. – 30 ก.ย. ของทุกปีงบประมาณที่เป็นเลขคู่ และยังไม่ได้ก่อหนี้ ผูกพัน ให้เก็บไว้ใช้จ่ายจนถึงสิ้นปีงบประมาณถัดไปที่เป็นเลขคู่ 4. ถ้าไม่เข้าเกณฑ์ 1-3 ให้นำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน

  34. เงินอุดหนุน เงินบริจาค หลักเกณฑ์เงินที่ได้รับอุดหนุนจากท้องถิ่น • หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0406.3/ว59 ลว. 22ก.ค. 52 1. ฝากกระทรวงการคลัง มีเงินสด ณ ที่ทำการเพื่อสำรองจ่าย ไม่เกิน 50,000 บาท เว้นแต่ ถ้าใช้จ่ายภายในระยะเวลาไม่เกิน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับ ให้เก็บไว้ใช้จ่ายโดยไม่ ต้องนำฝากคลัง 2. การใช้จ่าย ได้รับอุดหนุนโครงการใด ให้นำไปจ่ายหรือก่อหนี้ผูกพันได้แต่เฉพาะโครงการนั้น 3. เมื่อเสร็จสิ้นโครงการมีเงินเหลือให้นำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน เว้นแต่ กำหนดไว้เป็นอย่างอื่น หลักเกณฑ์เกี่ยวกับเงินบริจาค • ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการรับเงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคให้ทางราชการ พ.ศ. 2526

  35. เงินรายรับของสถานศึกษาเงินรายรับของสถานศึกษา • ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินรายได้สถานศึกษาของรัฐที่ไม่เป็นนิติบุคคล พ.ศ. 2546 1. นำฝากกระทรวงการคลัง 2. ใช้จ่ายได้แต่เฉพาะเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ตามหลักเกณฑ์ อัตรา และวิธีการ ที่ สตช. กำหนด 3. เหลือเกินความจำเป็น กค. อาจกำหนดให้นำส่งเป็นรายได้แผ่นดินได้

  36. เงินประกันตัวผู้ต้องหาเงินประกันตัวผู้ต้องหา • ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินประกันตัวผู้ต้องหาของสถานีตำรวจ พ.ศ. 2547 1. การเก็บรักษา ให้ฝากธนาคารที่เป็นรัฐวิสาหกิจ หรือธนาคารเฉพาะกิจของรัฐในอำเภอหรือ เขตซึ่งสถานีตั้งอยู่ เว้นแต่ - ไม่มีธนาคารดังกล่าว ให้เปิดบัญชีกับธนาคารพาณิชย์อื่น - อำเภอหรือเขตที่สถานีตั้งอยู่ไม่มีธนาคาร ให้เปิดกับธนาคารในอำเภอหรือเขต ใกล้เคียงที่สุด 2. ดอกเบี้ยที่เกิดขึ้น ให้นำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน อย่างช้าภายใน 7 วันทำการ นับจาก วันที่ได้รับแจ้งจากธนาคาร 3. การจ่ายคืนเงินประกันตัว ให้จ่ายเป็นเช็ค

  37. เงินรางวัล จนท.ตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่จราจร • ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินรางวัลเจ้าหน้าที่ตำรวจซึ่งปฏิบัติหน้าที่ควบคุมการจราจร พ.ศ. 2544 1. ฝากกระทรวงการคลัง 2. การใช้จ่าย เป็นเงินรางวัลตามที่ระเบียบกำหนด 3. สิ้นปีงบประมาณ หากมีเงินคงเหลือให้นำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน

  38. เงินสินบนรางวัลและค่าใช้จ่าย ในการดำเนินงาน • ข้อบังคับกระทรวงการคลังว่าด้วยการหักเงินค่าปรับก่อนนำส่งคล้ง พ.ศ. 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม • ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจ่ายเงินสินบนรางวัลและค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน พ.ศ. 2546 1. ฝากกระทรวงการคลัง 2. จ่ายเป็นเป็นเงินสินบนรางวัล ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และอัตรา ที่ส่วน ราชการกำหนด 3. เป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน 4. เมื่อสิ้นปีงบประมาณ หากมิได้มีการจัดตั้งเป็นกองทุน ให้นำคงเหลือส่งเป็น รายได้แผ่นดิน

  39. เงินค่าธรรมเนียมในการสอบแข่งขันเงินค่าธรรมเนียมในการสอบแข่งขัน • ข้อบังคับกระทรวงการคลังว่าด้วยการหักเงินค่าธรรมเนียมการสอบแข่งขันบุคคลเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. 2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 1. กรณีจำเป็นเร่งด่วนและไม่ได้ตั้งงบประมาณไว้ หรือตั้งไว้แต่ไม่เพียงพอ 2. ฝากกระทรวงกาคลัง 3. เป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินการสอบ 4. เมื่อเสร็จสินการดำเนินการสอบแข่งขัน มีเงินคงเหลือให้นำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน

  40. สรุปกระบวนการใช้จ่ายเงินนอกงบประมาณสรุปกระบวนการใช้จ่ายเงินนอกงบประมาณ ข้อบังคับ/ระเบียบ/หลักเกณฑ์ เงื่อนไข การเก็บรักษา ฝากคลัง/ธนาคาร การใช้จ่าย ดอกผล เงื่อนเวลา การจัดทำรายงาน วิธีปฏิบัติ ที่นอกเหนือ

  41. Thank You The Office of off-Budgetary Management ติดต่อ: กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ E-mail: nonbuddg@yahoo.com โทรศัพท์: 0 2127 7444 หรือ • 0 2127 7000 ต่อ 4931, 4933 โทรสาร: 0 2127 7435 กลุ่มพัฒนาเงินนอกงบประมาณ กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

More Related