170 likes | 304 Views
ส า น ฝั น ปั น ปั ญ ญ า. อ ดิ นั น ต์ เ จ ะ ม ะ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ ศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลยามู โรงพยาบาลยะหริ่ง. โครงการอบรมและศึกษาดูงาน เรื่อง การแพทย์และสาธารณสุขในวิถีมุสลิม. 14 – 17 ตุลาคม 2552. ณ ห้องเกษมสันต์ โรงแรมโกลเด้นคราวน์พลาซ่า อ.หาดใหญ่ สงขลา.
E N D
สานฝัน ปันปัญญา อดินันต์เจะมะ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ ศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลยามู โรงพยาบาลยะหริ่ง
โครงการอบรมและศึกษาดูงาน เรื่อง การแพทย์และสาธารณสุขในวิถีมุสลิม 14 – 17 ตุลาคม 2552 ณ ห้องเกษมสันต์ โรงแรมโกลเด้นคราวน์พลาซ่า อ.หาดใหญ่ สงขลา
สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สจรส.มอผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิผอ.สจรส ภาคใต้www.southhsri.psu.ac.th
กลุ่มเป้าหมายอาจารย์คณะแพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ เภสัชศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ เทคนิคการแพทย์ สาธารณสุขศาสตร์ แพทย์แผนไทย สหเวชศาสตร์ หน่วยผลิตแพทย์เพื่อชาวชนบท วพบ. วสส.บุคลากรสาธารณสุข
วัตถุประสงค์ .-เพื่อรับทราบความเป็นจริงเกี่ยวกับศาสตร์ที่เรียนรู้ในระหว่างเป็นนักศึกษากับสิ่งที่เป็นจริงในการปฏิบัติงาน-มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ องค์ความรู้กับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขที่กำลังปฏิบัติงานในพื้นที่และได้เรียนรู้สิ่งดีๆ และนำองค์ความรู้ที่ได้ มาจัดการศึกษาแก่นักศึกษาให้สอดคล้องต่อไป
วัตถุประสงค์ .เพื่อให้อาจารย์วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีมีความรู้ ความเข้าใจในการแพทย์และสาธารณสุขในวิถีมุสลิม และสามารถนำความรู้ไปปรับเปลี่ยนหลักสูตรการเรียนการสอนให้นักศึกษาพยาบาลในโครงการผลิตพยาบาลวิชาชีพเพิ่มเพื่อการจัดการกำลังคนในชายแดนภาคใต้ ให้มีความเหมาะสมสอดคล้องกับพื้นที่พหุวัฒนธรรม
ประเด็นสำคัญที่ได้ • การจัดบริการสุขภาพตามวิถีอิสลาม • ช่วงวัยเด็ก • การจัดบริการสุขภาพตามวิถีอิสลาม ช่วงวัยวัยรุ่น • การจัดบริการสุขภาพตามวิถีอิสลาม ช่วงวัยผู้ใหญ่ • การจัดบริการสุขภาพตามวิถีอิสลาม ช่วงวัยชราและเสียชีวิต
ประเด็นสำคัญที่ได้ • การจัดบริการสุขภาพตามวิถีอิสลามช่วงวัยเด็ก • ตัวอย่าง โรงพยาบาลจะแนะ • ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม 99.15 % • การให้บริการส่งเสริมสุขภาพ รักษาพยาบาล งานอนามัยแม่และเด็ก • จากเดิมหญิงมีครรภ์นิยมคลอดโดยผดบ. ร้อยละ 90 • เพื่อให้เกิดความพึงพอใจมากขึ้น ลดข้อพิพาทระหว่างผู้ให้และผู้ใช้บริการ
รูปแบบการจัดบริการ • ขณะตั้งครรภ์(ฝากครรภ์) • อบรมผดบ. โดยโต๊ะครู ให้ความรู้เกี่ยวกับพิธีกรรมต่างๆ ตามหลักศาสนาอิสลาม ซึ่งอิสลามไม่สนับสนุนพิธีกรรมเสี่ยงต่อหญิงตั้งครรภ์ เช่น แนแง เมื่อายุครรภ์ครบ 7 เดือน • อบรมหญิงตั้งครรภ์ในกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ โดยโต๊ะครู ผอ.รพ. • ตรวจครรภ์โดยจนท.ผู้หญิง ตามความต้องการของชุมชน • การแนะนำอาหารที่ฮาลาล และให้คุณค่าโภชนาการ
รูปแบบการจัดบริการ • เจ็บครรภ์คลอด • หญิงที่มีบุตรอายุ< 6 เดือนนิยมใช้บริการนวดหลังคลอด อาบน้ำสมุนไพร และนวดทารกกับผดบ. • ให้ผดบ.ให้กำลังใจและนวดคลายปวดในห้องรอคลอดถึงห้องคลอด • เปิดอัลกุรอาน ให้หญิงตั้งครรภ์ฟังเพื่อให้จิตใจสงบ
รูปแบบการจัดบริการ • ขณะคลอด(ทำคลอด) • ให้สามีหรือญาติผู้หญิง ผดบ.เข้าให้กำลังใจได้ 1 คน • จัดเฉพาะจนท.หญิงทำคลอด ยกเว้นแพทย์
รูปแบบการจัดบริการ • หลังคลอด • จัดสถานที่สำหรับพิธีอาซาน มีคู่มือตั้งชื่อเป็นภาษาอาหรับ พร้อมความหมาย • มีการแนะนำการทำตะหนีก (เปิดปากทารก) จัดคลินิกนมแม่ ให้บุตรดูดนมแม่จนถึง 2 ปี • จัดบริการคิตาน ขลิบอวัยวะเพศหญิงก่อน d/c จัดบริการขลิบอวัยวะเพศชายทุกปี จัดบริการ NCCD มีหนังสือภาษาอาหรับ ช่วงรอรับบริการวัคซีน
รูปแบบการจัดบริการ • การจัดบริการสุขภาพตามวิถีอิสลามช่วงวัยผู้ใหญ่ • การดูแลผู้ป่วยละหมาด • การตะยัมมุม • ท่าละหมาดขณะเจ็บป่วย • ท่านั่ง • ท่านอนตะแคงผินหน้าสู่กิบลัต • ท่านอนหงาย โดยขาและศีรษะมุ่งสู่กิบลัต • ท่าแสดงสัญลักษณ์ด้วยใบหน้าและศีรษะ • การดูแลผู้ป่วยถือศีลอด • การบริหารยาที่ไม่เสียศีลอด
รูปแบบการจัดบริการ • การจัดบริการสุขภาพตามวิถีอิสลามช่วงวัยชราและเสียชีวิต • สิ่งที่ควรปฏิบัติต่อผู้ป่วย • จัดท่านอน ถ้านอนตะแคงขวา หันหน้าไปทางกิบลัต • ถ้านอนหงาย ให้เท้าชี้ไปทางกิบลัต ยกศีรษะให้สูงขึ้นเล็กน้อย • ให้ญาติ ผู้ดูแลสอน “กาลีมะซะอาดะ” • ให้ญาติอ่นคัมภีร์อัลกุรอาน ระลึกถึงพระเจ้า • ให้ผู้ป่วยปฏิบัติศาสนกิจละหมาด 5 เวลา • แปรงฟัน ให้ผู้ป่วย • หยอดน้ำ เพื่อให้ช่มคอ • ให้ญาติอยู่กันพร้อมหน้า เพื่อได้สั่งเสีย • ให้ผู้ป่วยเตาบัต ขอลุแก่โทษต่ออัลลอฮในบาปที่ผ่านมา
รพ.ไม้แก่น รพ.รามัน