1 / 20

ความโกรธ คือ ความไม่ชอบมาก ไม่ พอใจมาก ไม่ถูกใจมาก จนเบียดเบียน

ความโกรธ คือ ความไม่ชอบมาก ไม่ พอใจมาก ไม่ถูกใจมาก จนเบียดเบียน ตนเองหรือผู้อื่น..… เช่น ความขัดเคือง โกรธ แค้นเคือง พยาบาท เป็นต้น. เรามาทดลองค้นหาสาเหตุกันว่า การที่ต้องเข่นฆ่ากันนั้น มีสาเหตุมาจากอะไร ?. ความกลัวคือความโลภ/โกรธ ? กลัวมากว่างานจะไม่เสร็จ กลัวมากว่าผู้ใหญ่จะโกรธ

Download Presentation

ความโกรธ คือ ความไม่ชอบมาก ไม่ พอใจมาก ไม่ถูกใจมาก จนเบียดเบียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความโกรธคือ ความไม่ชอบมาก ไม่ พอใจมาก ไม่ถูกใจมาก จนเบียดเบียน ตนเองหรือผู้อื่น..… เช่น ความขัดเคือง โกรธ แค้นเคือง พยาบาท เป็นต้น.

  2. เรามาทดลองค้นหาสาเหตุกันว่าเรามาทดลองค้นหาสาเหตุกันว่า การที่ต้องเข่นฆ่ากันนั้น มีสาเหตุมาจากอะไร ?

  3. ความกลัวคือความโลภ/โกรธ ? กลัวมากว่างานจะไม่เสร็จ กลัวมากว่าผู้ใหญ่จะโกรธ ความกลัวที่พอเหมาะพอควรดีหรือไม่ ?

  4. ความหลงคือ การไม่มีความรู้ในอริยสัจ ๔ และการไม่มีความสามารถในการปฏิบัติ ธรรมตามมรรคมีองค์ ๘ อย่างถูกต้อง ครบ ถ้วน และต่อเนื่อง (ภาษาทางธรรม).

  5. ความหลง(โมหะ/อวิชชา) ความโลภความโกรธ

  6. ความไม่ประมาทคืออะไร ? “ภิกษุทั้งหลาย ควรสร้างอัปปมาท คือ การ รักษาใจด้วยสติโดยตนเอง คือ ….อย่าติดในธรรมที่ชวนติด(อย่าโลภ*) อย่าขัดเคือง(อย่าโกรธ*) อย่าหลง(อย่ามีอวิชชา*) อย่ามัวเมา…”(อย่าเพลิดเพลินในกามคุณ*)พุทธธรรม หน้า ๘๐๖

  7. ฝึกเจริญสมาธิ/ประเมินผล เอกัคคตา และอุเบกขา

  8. วิธีฝึกเจริญสติในชีวิตประจำวันวิธีฝึกเจริญสติในชีวิตประจำวัน • พยายามมีสติรู้เห็นความ…. และควบคุมความ ….. ให้คิดดี ทำ….อย่างต่อเนื่อง หรือคิดแต่กุศลอย่าง.... หรือเป็นอริยบุคคลอย่างต่อเนื่อง • ๒. มีสติพิจารณาธรรม (ศึกษาธรรม ทบทวนธรรม ฝึกแก้ปัญหาด้วยธรรม) เป็นประจำ ? • ๓. ใช้สติปัญญาทางโลก และสติปัญญาทางธรรมควบคู่กันไป

  9. พระนิพนธ์ของสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระ สังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ….เมื่อ(ความ*)โลภเกิดขึ้น ให้รู้ว่ากำลังคิดโลภแล้ว และให้หยุดความคิดนั้นเสีย. ….เมื่อ(ความ*)โกรธเกิดขึ้น ให้รู้ชัดว่ากำลังคิดโกรธ แล้ว และให้หยุดความคิดนั้นเสีย. ….หัดหยุดความคิดที่เป็นกิเลสเสียก่อนตั้งแต่บัดนี้ เถิด จะเป็นการเริ่มฐานต่อต้านกำราบปราบทุกข์ให้ สิ้นไป ที่จะให้ผลจริงแท้แน่นอน. ทุกชีวิตมีเวลาอันจำกัด หน้า๗๔ ISBN:974-7276-18-6

  10. ผู้ที่ควบคุมความคิดได้คือมหาบุรุษผู้ที่ควบคุมความคิดได้คือมหาบุรุษ พระพุทธเจ้าตรัสสอนว่า…. “บุคคลผู้เป็นมหาบุรุษ มีปัญญามาก ประ สงค์จะตริตรึกความคิดใด ก็ตริตรึกความคิดนั้น ไม่ประสงค์จะตริตรึกความคิดใด ก็ไม่ตริตรึก ความคิดนั้น ….ท่านบรรลุภาวะมีอำนาจเหนือ จิตในกระบวนความคิดทั้งหลาย” พุทธธรรม หน้า ๒๗๔

  11. ทำให้เกิดความยึดมั่นถือมั่น ที่จะให้เป็น ไปตามความคิด…..(อุปาทาน) ทำให้เกิดความอยากมาก ๆ ที่จะให้เป็น ไปตามความคิด….ทะยานอยาก(ตัณหา) คิดด้วย ความโลภ/โกรธ ซ้ำแล้วซ้ำอีก

  12. รูป ตา อยาก ไม่อยาก เสียง หู ชอบ ไม่ชอบ กลิ่น จมูก พอใจ ไม่พอใจ รส ลิ้น เฉย ๆ สิ่งต่างๆ กาย (ที่ใจ) มีสติไม่คิดอกุศล

  13. ละอุปาทานได้ ทุกข์ก็หมดไป ตัวกูเป็นของกูใช่หรือไม่ ? เพราะใครคิด ความคิดนี้เป็นของกู ? สามีเป็นของ กู ? ลูกเป็นของกู ? งานเป็นของกู? สมบัติเป็น.... วิชาชีพเป็น.... เลขา....

  14. ฝึกเจริญสมาธิ/ประเมินผล เอกัคคตา และอุเบกขา

  15. ฝึกแบ่งสติเพื่อสำรวมความคิดฝึกแบ่งสติเพื่อสำรวมความคิด

  16. การแบ่งสติในชีวิตประจำวันการแบ่งสติในชีวิตประจำวัน เพื่อการสำรวมความคิด

  17. วิธีฝึกเจริญสติในชีวิตประจำวันวิธีฝึกเจริญสติในชีวิตประจำวัน ๑. พยายามมีสติอยู่ที่ฐานหลักของ สติไว้เสมอๆ พร้อมทั้งรู้เห็นความ คิดและควบคุมความคิด ให้คิดดี ทำ... เพื่อทำจิตใจของตนให้บริ.. .....อย่าง...... จำ

  18. วิธีฝึกเจริญสติในชีวิตประจำวันวิธีฝึกเจริญสติในชีวิตประจำวัน ๑. พยายามมี.....อยู่ที่ฐานหลักของ สติไว้เสมอๆ พร้อมทั้งรู้เห็น..... และควบคุม.... ให้คิดดีทำ...เพื่อ ทำ....ของตนให้...(บรผส.)...อย่าง...

  19. ขณะนี้ขอให้ทุกท่าน ฝึกมีสติอยู่ที่ฐานหลักของสติ ประมาณ ครึ่งหนึ่ง หรือ ครึ่ง : ครึ่ง

  20. ท่านมีใจเสมอกันหรือยัง ? “พระผู้มีพระภาคนั้น ทรงมีพระทัยเสมอ กัน ทั้งต่อนายขมังธนู (ที่รับจ้างมาลอบสัง- หาร….) ต่อพระเทวทัต ต่อโจรองคุลิมาร ต่อช้างธนบาล และต่อพระราหุล ทั่วทุกคน” พุทธธรรม หน้า ๗๕๔ คือ ทรงไม่คิดอกุศล ใช่หรือไม่ ? เรามีใจเสมอกันต่อผู้ป่วยทุกคน ได้หรือไม่ ?

More Related