1 / 36

การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม

การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม. หลักการพัฒนาตัวบ่งชี้. มุ่งการประเมินผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบมากกว่าการประเมินปัจจัยนำเข้าและกระบวนการ เน้นตัวบ่งชี้ทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ ทั้งเชิงบวกและเชิงลบ ตระหนักถึงความสำคัญของปัจจัย ข้อจำกัด ตลอดจนวัฒนธรรมและความเป็นไทย

iram
Download Presentation

การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม

  2. หลักการพัฒนาตัวบ่งชี้หลักการพัฒนาตัวบ่งชี้ • มุ่งการประเมินผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบมากกว่าการประเมินปัจจัยนำเข้าและกระบวนการ • เน้นตัวบ่งชี้ทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ ทั้งเชิงบวกและเชิงลบ • ตระหนักถึงความสำคัญของปัจจัย ข้อจำกัด ตลอดจนวัฒนธรรมและความเป็นไทย • มีตัวบ่งชี้พื้นฐานเท่าที่จำเป็น โดยเพิ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ และตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม • คำนึงถึงความเชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพภายในและการประกันคุณภาพภายนอก

  3. ทิศทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามทิศทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม • ประเมินอิงเกณฑ์ตามจุดเน้นของสถานศึกษา • ประเมินคุณภาพภายนอกจากผลการจัดการศึกษาเป็นหลัก ตาม ม. 51 โดยให้น้ำหนัก 75% ใช้ข้อมูลเฉลี่ย 3 ปี • ประเมินโดยวิธีการและข้อมูล ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพโดย Peer Review • ประเมินโดยการยืนยันรายงานการประเมินตนเองที่ถูกต้องเชื่อถือได้ เพื่อกระตุ้นให้การประกันคุณภาพภายในมีความเข้มแข็ง

  4. ทิศทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ต่อ)ทิศทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ต่อ) 5. การประเมินเชิงกระบวนการ 25%โดยให้ความสำคัญ - สภาสถาบัน ผู้บริหาร - คุณภาพอาจารย์ บุคลากร - เครื่องมืออุปกรณ์ - คุณภาพและความพร้อมของผู้เรียน - การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ - การประกันคุณภาพภายใน

  5. ตัวบ่งชี้สำหรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามตัวบ่งชี้สำหรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ตัวบ่งชี้สำหรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามระดับอุดมศึกษา จำนวน 18ตัวบ่งชี้ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1. ตัวบ่งชี้พื้นฐาน จำนวน 15 ตัวบ่งชี้ 2. ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ จำนวน 2 ตัวบ่งชี้ 3. ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม จำนวน 1 ตัวบ่งชี้

  6. ตัวบ่งชี้พื้นฐาน • ตัวบ่งชี้ที่ประเมินภายใต้ภารกิจของสถานศึกษา เป็นตัวบ่งชี้ที่ประเมินบนพื้นฐานที่ทุกสถานศึกษาต้องมีและปฏิบัติได้ มีความเชื่อมโยงกับการประกันคุณภาพภายใน • เป็นตัวบ่งชี้ที่พัฒนามาจากการประเมินฯภายนอกรอบแรกและรอบสอง • มีจำนวน 15ตัวบ่งชี้ - ตัวบ่งชี้ที่ 1-11 เป็นตัวบ่งชี้ตามพันธกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษา - ตัวบ่งชี้ที่ 12-14 เป็นตัวบ่งชี้ด้านการบริหารและพัฒนาสถาบัน - ตัวบ่งชี้ที่ 15 เป็นตัวบ่งชี้ด้านการประกันคุณภาพภายใน

  7. . ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ • ตัวบ่งชี้ที่ประเมินผลผลิตของสถาบันอุดมศึกษาตาม - ปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา - ความสำเร็จตามจุดเน้น จุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนความป็นเอกลักษณ์ ของสถานศึกษา - ได้รับการอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัย - มีจำนวน 3 ตัวบ่งชี้

  8. ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริมตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม • ตัวบ่งชี้ที่ประเมินผลการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยด้านการชี้แนะ ป้องกันหรือแก้ปัญหาของสังคม • มหาวิทยาลัยเป็นผู้กำหนดแนวทางพัฒนาเพื่อร่วมกันชี้แนะ ป้องกันและแก้ไขปัญหาสังคมตามนโยบายของรัฐ • มหาวิทยาลัยต้องเลือกนำเสนอผลการดำเนินการ 2 เรื่องและผ่านความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย • มหาวิทยาลัยสามารถปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาหรือปัญหาของสังคมที่เปลี่ยนไป • จำนวนตัวบ่งชี้ 1 ตัวบ่งชี้

  9. การกำหนดค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้การกำหนดค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้ 1. ตัวบ่งชี้พื้นฐาน จำนวน 15 ตัวบ่งชี้ ค่าน้ำหนัก75% 2. ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ จำนวน 2 ตัวบ่งชี้ ค่าน้ำหนัก15% 3. ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม จำนวน 1 ตัวบ่งชี้ ค่าน้ำหนัก10%

  10. ข้อมูลที่ใช้ประกอบการพิจารณาข้อมูลที่ใช้ประกอบการพิจารณา 1. ตัวบ่งชี้เชิงปริมาณ ใช้ข้อมูลผลการดำเนินงาน 3 ปี ย้อนหลัง ก่อนการประเมิน 2. ตัวบ่งชี้เชิงคุณภาพ ใช้ข้อมูลผลการดำเนินงาน 1 ปี ก่อนการประเมิน

  11. การรับรองมาตรฐานคุณภาพการรับรองมาตรฐานคุณภาพ • เกณฑ์การพิจารณาเพื่อรับรองคุณภาพการจัดการศึกษา จะรับรองคุณภาพใน 2 ระดับ คือ 1. ระดับคณะวิชาหรือหน่วยงาน 2. ระดับสถาบัน

  12. เกณฑ์การรับรองมาตรฐานคุณภาพระดับคณะวิชาหรือหน่วยงานเทียบเท่าเกณฑ์การรับรองมาตรฐานคุณภาพระดับคณะวิชาหรือหน่วยงานเทียบเท่า 1. ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน สมศ. 2. ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน สมศ.

  13. การรับรองมาตรฐานคุณภาพระดับสถาบันการรับรองมาตรฐานคุณภาพระดับสถาบัน 1. ผลการรับรองมาตรฐานคุณภาพมี 2 ลักษณะ คือ 1.1 ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน สมศ. 1.2 ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน สมศ. 2. พิจารณาจากสัดส่วนของคณะวิชาหรือหน่วยงานเทียบเท่าที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน สมศ.เทียบกับคณะวิชาหรือหน่วยงานเทียบเท่าทั้งหมด

  14. การตัดสินผลการประเมินคุณภาพภายนอกการตัดสินผลการประเมินคุณภาพภายนอก • การตัดสินผลการประเมินคุณภาพภายนอกป็นการนำ ผลการประเมินมาเปรียบเทียบเพื่อพิจารณาระดับคุณภาพ ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยกำหนดมิติของ การพิจารณาทั้งในภาพรวมและกลุ่มตัวบ่งชี้ตามเกณฑ์ ในการตัดสินผล

  15. เกณฑ์การตัดสินผลการประเมินคุณภาพภายนอกเกณฑ์การตัดสินผลการประเมินคุณภาพภายนอก

More Related