200 likes | 477 Views
บทที่ 4. ทฤษฎีการเมืองตะวันออกที่สำคัญ 4.1 อรรถศาสตร์ของจาณักยะ. คำถามที่ท้าทายให้คุณตอบ. อรรถศาสตร์คืออะไร เป็นผลงานของใคร และเกิดขึ้นในยุคใด ? จากคำกล่าวที่ว่า “อรรถศาสตร์เป็นงานที่ควรศึกษามากที่สุด” สังเกตได้จากด้านใดบ้าง ? ศาสตร์ที่สำคัญในคัมภีร์เล่มนี้มีกี่ศาสตร์ อะไรบ้าง ?
E N D
บทที่ 4 ทฤษฎีการเมืองตะวันออกที่สำคัญ 4.1 อรรถศาสตร์ของจาณักยะ
คำถามที่ท้าทายให้คุณตอบคำถามที่ท้าทายให้คุณตอบ • อรรถศาสตร์คืออะไร เป็นผลงานของใคร และเกิดขึ้นในยุคใด ? • จากคำกล่าวที่ว่า “อรรถศาสตร์เป็นงานที่ควรศึกษามากที่สุด” สังเกตได้จากด้านใดบ้าง ? • ศาสตร์ที่สำคัญในคัมภีร์เล่มนี้มีกี่ศาสตร์ อะไรบ้าง ? • รัฐและองค์ประกอบของรัฐมีอะไรบ้าง ในองค์ประกอบทั้งหมดเหล่านั้นอะไรสำคัญที่สุด ? • นโยบายต่างประเทศในอรรถศาสตร์มีทั้งหมดกี่แบบ และคำกล่าวที่ว่า “ศีลธรรมไม่ใช่สิ่งที่ต้องคำนึงถึงในทางการเมือง” หมายถึงอะไร ? • ทำไมกษัตริย์จึงสำคัญที่สุดในงานนิพนธ์นี้ ? • งานเขียนเล่มนี้มีข้อเหมือนอย่างไรเมื่อเปรียบเทียบกับ เดอะ พริ้นซ์ ในการวิเคราะห์ธรรมชาติของมนุษย์ ?
วัตถุประสงค์เพื่อให้นิสิตวัตถุประสงค์เพื่อให้นิสิต • ได้เรียนรู้แนวคิดทางการเมืองทางตะวันออก • ได้เรียนรู้คัมภีร์ปกครองการเมืองทางตะวันออก • ได้เข้าใจจุดประสงค์ของการงานเขียนเรื่องอรรถศาสตร์
จาณักยะ เกาฏิลยะ วิษณุคุปต์ ปาณกพราหมณ์ ชื่อพราหมณ์ผู้เป็นที่ปรึกษาในการสถาปนาราชวงศ์เมารยะ
อรรถศาสตร์เป็นงานที่ควรยิ่งแก่การศึกษาอรรถศาสตร์เป็นงานที่ควรยิ่งแก่การศึกษา • สังเกตได้จาก 2 ด้านคือ • ด้านวิธีการเขียน • ด้านเนื้อหา
ด้านเนื้อหา มีทั้งหมด 15 เล่ม แบ่งเป็น 180 ตอน และ 150 บท มีเค้าโครงย่อ ดังต่อไปนี้ เล่มที่ 1 ว่าด้วยแง่มุมและปัญหาต่าง ๆเกี่ยวกับกษัตริย์ เล่มที่ 2 ว่าด้วยการบริหารบ้านเมือง เล่มที่ 3 - 4ว่าด้วยกฎหมายต่าง ๆ เล่มที่ 5 ว่าด้วยหน้าที่และความรับผิดชอบของข้าราช สำนักและข้าราชบริพารของกษัตริย์ เล่มที่ 6 ว่าด้วยธรรมชาติและภารกิจขององค์ประกอบ 7 ประการของรัฐ เล่มที่ 7 - 14ว่าด้วยปัญหาเรื่องนโยบายต่างประเทศ เล่มที่ 15 ว่าด้วยเค้าโครงของหนังสือทั้งหมดและบทสรุป
เนื้อหาส่วนใหญ่ในอรรถศาสตร์จะเกี่ยวข้องกับปัญหาในเนื้อหาส่วนใหญ่ในอรรถศาสตร์จะเกี่ยวข้องกับปัญหาใน การปกครอง โดยจาณักยะได้กล่าวไว้ว่าในอรรถศาสตร์มีศาสตร์ที่สำคัญอยู่ทั้งหมด 4 ประการได้แก่ 1.ปรัชญา(Anvikshaki) หรือตรรกวิทยา 2.พระเวท(Vedas) 3.เศรษฐศาสตร์(Varta) 4.ศาสตร์แห่งการปกครอง(Dandaniti) "ทิศทางแห่งพัฒนาการของโลกต้องขึ้นอยู่กับศาสตร์แห่งการปกครอง"
องค์ประกอบของรัฐ เรียงตามลำดับความสำคัญดังต่อไปนี้ 1.กษัตริย์(Swami) 2.มุขมนตรี(Amatya) 3.ประชาชนหรือประเทศ(Janapada) 4.ป้อมปราการ(Durga) 5.พระคลัง(Kosa) 6.กองทัพ(Danda) 7.พันธมิตรหรือศัตรู(Satru)
"กษัตริย์" คือต้นตอแห่งความยุติธรรม
นโยบายต่างประเทศทั้ง 6 ในอรรถศาสตร์ 1.การตกลงตามข้อสัญญา คือ สันติภาพ 2. ปฏิบัติการรุกราน คือ สงคราม 3. การวางเฉย คือ การเป็นกลาง 4. การเตรียมการ คือ พร้อมรุก 5. การแสวงหาความพิทักษ์จากผู้อื่น คือ การผูกพันธมิตร 6. การทำสันติภาพกับข้างหนึ่งและทำสงครามกับอีกข้างหนึ่ง คือ นโยบายซ้อน
การศึกษาของกษัตริย์ “อวิชชาและการไร้วินัย คือสาเหตุของความยุ่งยากของมนุษย์”
วัตถุประสงค์ของการศึกษาวัตถุประสงค์ของการศึกษา ต้องขจัดศัตรูทั้ง 6 ประการดังต่อไปนี้ 1. ตัณหา4. ความถือดี 2. ความโกรธ 5. ความจองหอง 3. ความโลภ 6. ความปีติจนลืมตน ความโกรธ ความอยาก
ธรรมชาติของมนุษย์นั้นธรรมชาติของมนุษย์นั้น "เลว"
สรุป จาณักยะได้ให้ความสำคัญแก่กษัตริย์ในฐานะเป็นต้นตอแห่งความยุติธรรม อวิชชาและการไร้ระเบียบวินัยคือสาเหตุในความยุ่งยากของมนุษย์ ผู้ที่ไม่ได้รับการฝึกฝนจะไม่สามารถมองเห็นภัยอันตรายที่มาจากความชั่วช้าได้ เขามีความเห็นเหมือนมาเคียเว็ลลีในการวิเคราะห์ธรรมชาติมนุษย์ว่าธรรมชาติของมนุษย์นั้นเลว