1 / 77

บรรยายโดย พ.ต.อ.วิชัย ศรีศีลศิริกุล ผกก.ฝงป. 2 งป.

การบริหารงบประมาณ การรายงานและติดตามประเมินผล. บรรยายโดย พ.ต.อ.วิชัย ศรีศีลศิริกุล ผกก.ฝงป. 2 งป. 1. วงจรงบประมาณ. การจัดเตรียมงบประมาณ. การอนุมัติงบประมาณ. การอนุมัติงบประมาณ. การบริหารงบประมาณ. 2. งบประมาณแผ่นดิน.

ingo
Download Presentation

บรรยายโดย พ.ต.อ.วิชัย ศรีศีลศิริกุล ผกก.ฝงป. 2 งป.

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารงบประมาณ การรายงานและติดตามประเมินผล บรรยายโดย พ.ต.อ.วิชัย ศรีศีลศิริกุล ผกก.ฝงป. 2 งป. 1

  2. วงจรงบประมาณ การจัดเตรียมงบประมาณ การอนุมัติงบประมาณ การอนุมัติงบประมาณ การบริหารงบประมาณ 2

  3. งบประมาณแผ่นดิน แผนการใช้จ่ายเงินของรัฐบาล ในระยะเวลาหนึ่ง เพื่อใช้จ่าย ดำเนินงาน ตามอำนาจหน้าที่ของรัฐบาล โดยแสดงแหล่งที่มาของ รายรับ หรือ ทรัพยากรที่จะนำมาใช้จ่าย ตามแผนที่กำหนดไว้ด้วย งบประมาณรายจ่าย (เป็นส่วนหนึ่งของงบประมาณแผ่นดิน) จำนวนเงินอย่างสูง ที่อนุญาตให้จ่ายหรือก่อหนี้ผูกพันได้ ตามวัตถุประสงค์ และภายในระยะเวลา ที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย 3

  4. การบริหารงบประมาณ การควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณ ให้เป็นไปตามเป้าหมาย ของ ผลผลิต กิจกรรม และตัวชี้วัดของหน่วยงาน หมายถึง 4

  5. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงบประมาณหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงบประมาณ • สำนักงบประมาณ • กรมบัญชีกลาง • สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน • ส่วนราชการ 5

  6. กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง กับการบริหารงบประมาณ ของ ตร. 1. พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 2. นโยบายของรัฐบาลเกี่ยวกับการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (CEO) • ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ.2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2)พ.ศ.2551 • พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่5)พ.ศ. 2534 5. ระเบียบการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ พ.ศ. 2534แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่2) พ.ศ.2549 6

  7. กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง กับการบริหารงบประมาณ ของ ตร. พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 และ นโยบายของรัฐบาลเกี่ยวกับการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ คำสั่ง ตร. ที่ 848/2548 ลง 15 พ.ย.2548 เรื่อง การมอบอำนาจการบริหารงบประมาณรายจ่ายตามระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณให้ ผวจ. , ผบช., รอง ผบช. ที่ ผบช. มอบหมาย ปฏิบัติราชการแทน (อาศัยอำนาจตาม ม.38 แห่งพ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534และ ม.74แห่งพ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติพ.ศ.2547) 7

  8. พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติพ.ศ.2547 พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติพ.ศ.2547 มาตรา 14 ผู้บัญชาการมีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบดังต่อไปนี้ (๑) บริหารราชการของกองบัญชาการให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับและประกาศของทางราชการ ก.ต.ช., ก.ตร. และ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (๒) ควบคุม กำกับ ดูแลบุคลากร การเงิน การพัสดุ สถานที่ และทรัพย์สินอื่นของกองบัญชาการให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศของทางราชการ ก.ต.ช. , ก.ตร. และสำนักงาน ตำรวจแห่งชาติ 8

  9. มาตรา 14 ผู้บัญชาการมีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบดังต่อไปนี้ (๓) เป็นผู้แทนสำนักงานตำรวจแห่งชาติในราชการทั่วไป ของกองบัญชาการ (๔) รายงานผลการปฏิบัติงานพร้อมทั้งปัญหา และอุปสรรค ต่อผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติทุกสี่เดือน หรือตามระยะเวลาที่ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติกำหนด 9

  10. มาตรา 14 ผู้บัญชาการมีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบดังต่อไปนี้ (๕) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และ ประกาศของทางราชการ ก.ต.ช. ก.ตร. และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในกรณีที่มีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคำสั่งใด หรือ มติของคณะรัฐมนตรีในเรื่องใดกำหนดให้การดำเนินการใดเป็นอำนาจ ของอธิบดีหรือผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ให้ผู้บัญชาการมีอำนาจ เช่นว่านั้นในฐานะเป็นอธิบดีหรือแทนผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ในส่วนที่เกี่ยวกับการปฏิบัติราชการในกองบัญชาการ ทั้งนี้ ตาม หลักเกณฑ์ที่ ก.ต.ช. กำหนด 10

  11. ระเบียบ ก.ต.ช.ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติราชการของผู้บัญชาการในฐานะเป็นอธิบดีหรือแทนผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2551 ลงวันที่ 29 ส.ค. 2551 โดยนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการนโยบายตำรวจแห่งชาติ • อาศัยอำนาจตามความใน ม.14 วรรคสอง และม. 18 (1) แห่ง พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 ประกอบมติ ก.ต.ช.ฯลฯ ก.ต.ช. จึงได้ออกระเบียบไว้ โดยสรุปดังนี้ - อำนาจของผู้บัญชาการในฐานะเป็นอธิบดีหรือแทนผู้บัญชาการ ตำรวจแห่งชาติในส่วนเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการของบช.นั้น - เรื่องที่เป็นอำนาจหน้าที่ของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ - ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติมีอำนาจออกแนวทางการปฏิบัติฯเพื่อให้เป็นไปตามระเบียบนี้

  12. คำสั่งตร.ที่ 418/2552เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการบริหารงบประมาณในอำนาจของผู้บัญชาการลงวันที่ 3 ก.ย. 2552 • อาศัยอำนาจตามความในข้อ 6แห่งระเบียบก.ต.ช.ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติราชการของผู้บัญชาการในฐานะเป็นอธิบดี หรือแทนผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2552 จึงกำหนดแนวทางการปฏิบัติในการบริหารงบประมาณสำหรับกองบัญชาการต่างๆไว้

  13. แนวทางปฏิบัติประกอบระเบียบ ก.ต.ช. ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติราชการของผู้บัญชาการฯ ส่วนที่ 2 ด้านงบประมาณ 1.การจัดทำงบประมาณ 1.1 ให้ ผบช. มีหน้าที่เกี่ยวกับงบประมาณของ บช. นั้น และจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปีของ บช. ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่สำนักงบประมาณและ ตร. กำหนด

  14. แนวทางปฏิบัติประกอบระเบียบ ก.ต.ช. ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติราชการของผู้บัญชาการฯ 1.2 ให้ ผบช. จัดทำค่าใช้จ่ายต่อหน่วยผลผลิตหรือโครงการ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่สำนักงบประมาณและ ตร. กำหนด สำหรับการจัดทำงบประมาณรายจ่ายในปีงบประมาณ ต่อไป

  15. แนวทางปฏิบัติประกอบระเบียบ ก.ต.ช. ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติราชการของผู้บัญชาการฯ 2. การบริหารงบประมาณรายจ่าย การจัดทำและการปรับปรุง แผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายและการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่าย การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่าย และการบริหารงบประมาณรายจ่ายงบกลาง ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ และตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่สำนักงบประมาณและ ตร. กำหนด

  16. แนวทางปฏิบัติประกอบระเบียบ ก.ต.ช. ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติราชการของผู้บัญชาการฯ 2. การบริหารงบประมาณรายจ่าย(ต่อ) ในส่วนหลัก ๆ ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยคือ ก.-คำสั่ง ตร. ที่ 848 / 2548 ลง 15 พ.ย.2548เรื่องการมอบอำนาจการบริหารงบประมาณรายจ่ายตามระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณให้ ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้บัญชาการ รองผู้บัญชาการที่ผู้บัญชาการมอบหมายให้ปฏิบัติราชการแทน - คำสั่ง ตร.ที่ 418/2552 ลง 3ก.ย. 2552 เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการบริหารงานงบประมาณ ในอำนาจของผู้บัญชาการ ซึ่งออกตามระเบียบ ก.ต.ช.ฯลฯ

  17. แนวทางปฏิบัติประกอบระเบียบ ก.ต.ช. ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติราชการของผู้บัญชาการฯ 2. การบริหารงบประมาณรายจ่าย(ต่อ) ข. หนังสือ ตร. ที่ 0010.142/ว0102 ลง 10 พ.ย. 2552 เรื่องแนวทางการบริหารงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

  18. แนวทางปฏิบัติประกอบระเบียบ ก.ต.ช. ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติราชการของผู้บัญชาการฯ 2. การบริหารงบประมาณรายจ่าย(ต่อ) อนึ่ง การดำเนินการใดที่ต้องเสนอต่อนายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรี ให้เสนอเรื่องผ่าน ตร. ( งป.)

  19. แนวทางปฏิบัติประกอบระเบียบ ก.ต.ช. ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติราชการของผู้บัญชาการฯ 3. การรายงานผล ให้ บช. จัดให้มีระบบการรายงานผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณ และให้จัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณ ตามเกณฑ์การวัดของตัวชี้วัดผลสำเร็จตามที่กำหนดไว้ และตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่สำนักงบประมาณ และ ตร.กำหนด

  20. แนวทางปฏิบัติประกอบระเบียบ ก.ต.ช. ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติราชการของผู้บัญชาการฯ 4. เรื่องดังต่อไปนี้เป็นอำนาจหน้าที่ของ ผบ.ตร. 1. การวางแผนสรรหากำลังพล 2. การขอพระราชทานยศและการถอดยศตำรวจชั้นสัญญาบัตร 3.การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ 4.การให้ความยินยอมให้ข้าราชการตำรวจโอนไปรับราชการในส่วนราชการหรือหน่วยงานอื่น

  21. แนวทางปฏิบัติประกอบระเบียบ ก.ต.ช. ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติราชการของผู้บัญชาการฯ 5. การอนุญาตให้ข้าราชการตำรวจไปปฏิบัติหน้าที่ชั่วคราวนอกสังกัด สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 6. การจัดหาพัสดุประเภทยุทธภัณฑ์ 7.การบริหารที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเฉพาะการอนุญาตให้ใช้ การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์และการส่งคืนที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 8.การเสนอเรื่องต่อ ก.ตร. 9.การเสนอเรื่องต่อนายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรี

  22. กระบวนการบริหารงบประมาณกระบวนการบริหารงบประมาณ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน 1) การขอและอนุมัติเงินประจำงวด , การโอนเงิน ,การจัดสรร 2) การจัดซื้อจัดจ้าง 3) การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 4) การตรวจสอบการใช้จ่ายเงิน 5) การรายงานผลการปฏิบัติงาน 22

  23. กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง กับการบริหารงบประมาณ ของ ตร. ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ.2548 23

  24. ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ.2548 หลักการสำคัญ... หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติทั่วไปในการบริหารงบประมาณ การบริหารงบประมาณรายจ่าย สำหรับส่วนราชการ การบริหารงบประมาณรายจ่ายงบกลาง การรายงานผล 24

  25. หลักการสำคัญ . . . 1. มีความสอดคล้องกับระบบและวิธีการจัดการงบประมาณที่มุ่งเน้น ผลงานตามยุทธศาสตร์ 2. กำหนดวิธีการจัดสรรงบประมาณตาม พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปีและเพิ่มเติม รวมถึงการโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณรายจ่าย เพื่อให้ใช้จ่ายได้อย่างรวดเร็ว เกิดประโยชน์สูงสุดและคุ้มค่า 3. กำหนดการมอบอำนาจและความรับผิดชอบให้กับหัวหน้าส่วนราชการ ในการบริหารงบประมาณได้อย่างยืดหยุ่นและคล่องตัวสูง 4. กำหนดให้ส่วนราชการ บริหารงบประมาณรายจ่ายให้บรรลุเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของงาน ตามแผนงบประมาณและแผนงบประมาณเชิงบูรณาการที่กำหนดไว้ 25

  26. หลักการสำคัญ . . . ต่อ 5. กำหนดให้มีเครื่องมือในการบริหารงบประมาณ ดังนี้.- - การจัดทำแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ - การจัดทำและรับส่งข้อมูลด้วยระบบอิเลคทรอนิคส์ - การรายงานผล - การจัดทำค่าใช้จ่ายต่อหน่วย 6. กำหนดให้การบริหารงบประมาณสอดคล้องกับหลักการของ ธรรมาภิบาล คือ ใช้จ่ายได้รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ คุ้มค่า โปร่งใส ตรวจสอบได้และเปิดเผยต่อสาธารณชนได้ 26

  27. หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติทั่วไป ในการบริหารงบประมาณ • การใช้งบประมาณรายจ่ายประจำปี • การจัดเตรียมความพร้อมในการใช้งบประมาณรายจ่ายประจำปี • การมอบอำนาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัด • การจัดทำค่าใช้จ่ายต่อหน่วยผลผลิต หรือโครงการ • การใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ (ระบบ GFMIS) 27

  28. การบริหารงบประมาณรายจ่าย สำหรับส่วนราชการ 1. การจัดทำ และปรับปรุงแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ 2. การจัดสรรงบประมาณรายจ่าย 3. การใช้รายจ่ายจากงบประมาณรายจ่าย 4. หลักการสำคัญของการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่าย 5. การโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณรายจ่าย - ตามอำนาจของหัวหน้าส่วนราชการ - ต้องขอตกลงกับสำนักงบประมาณ - ต้องได้รับอนุมัติจาก คณะรัฐมนตรีก่อน 28

  29. การบริหารงบประมาณรายจ่าย สำหรับส่วนราชการ 1. การจัดทำ และปรับปรุงแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ 29

  30. หมวด 1 การจัดทำแผน ในการขอรับการจัดสรรงบประมาณครั้งแรกของปีงบประมาณ1. แผนการปฏิบัติงาน 2. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ จัดทำตามผลผลิตหรือโครงการ ให้สอดคล้องกับเป้าหมายการให้บริการของกระทรวงตามวงเงินที่ระบุในเอกสาร พ.ร.บ. งบประมาณ รายจ่ายประจำปี จัดทำหรือวางระบบข้อมูล เพื่อรองรับระบบการรายงานผลและการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามผลผลิต และหรือ กิจกรรมหลัก พร้อมกับกำหนดค่าหรือเกณฑ์การวัดของตัวชี้วัดผลสำเร็จ เพื่อใช้ในการรายงานผลและติดตามประเมินผล 30

  31. การจัดทำแผน ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ สงป. วิเคราะห์/ เห็นชอบ • เป้าหมายการให้ • บริการกระทรวง • ผลผลิตที่กำหนด • วงเงินตาม พรบ. แผนการปฏิบัติงานและ แผนการใช้จ่ายงบประมาณ • ให้ใช้แผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ เป็นหลักในการใช้จ่ายงบประมาณ 31

  32. แบบฟอร์มที่ใช้ในการจัดทำแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณแบบฟอร์มที่ใช้ในการจัดทำแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ • แบบ สงป.301 แบบรายงานแผน/ผลการปฏิบัติงาน • แบบ สงป.302 แบบรายงานแผน/ผลการใช้จ่ายงบประมาณ • แบบ สงป.302/1 แบบรายงานแผน/ผลการจัดซื้อจัดจ้าง ครุภัณฑ์ ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง ที่จัดสรรงบประมาณในงบลงทุน บันทึกข้อมูลเป็นรายเดือน และจัดทำรายงานผลเป็นรายไตรมาส 32

  33. การปรับปรุงแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณการปรับปรุงแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ • กรณีที่ต้องทำความตกลงกับสำนักงบประมาณ 1. การปรับปรุงแผนฯ ทำให้เป้าหมายผลผลิต/โครงการเปลี่ยนแปลง ไปจากที่ได้รับความเห็นชอบ 2. การปรับปรุงแผนฯ ที่มีผลทำให้ต้องโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ ด้วยให้ขอทำความตกลงกับสำนักงบประมาณมาพร้อมกัน • วิธีการปรับปรุงแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ จัดทำรับส่งการปรับปรุงแผนฯ ด้วยระบบGFMIS แต่กรณีข้อ 2 ให้ทำหนังสือขออนุมัติสำนักงบประมาณด้วย 33

  34. การบริหารงบประมาณรายจ่าย สำหรับส่วนราชการ 2. การจัดสรรงบประมาณรายจ่าย 34

  35. การจัดสรรงบประมาณรายจ่าย เริ่มเมื่อ พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปีประกาศบังคับใช้ • สำนักงบประมาณ จะจัดสรรงบประมาณให้กับส่วนราชการ - เต็มตามวงเงินงบประมาณรายจ่าย - สอดคล้องกับแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่าย งบประมาณที่ได้รับความเห็นชอบแล้ว - สำนักเบิกส่วนกลาง - สำนักเบิกส่วนภูมิภาค กรณีส่วนราชการมีที่ตั้งในส่วนภูมิภาค 35

  36. การจัดสรรงบประมาณรายจ่าย • หัวหน้าส่วนราชการ เร่งดำเนินการโอนจัดสรรงบประมาณ ต่อไปยังสำนักเบิกภูมิภาค โดยไม่ชักช้า (15 วัน) ยกเว้น งบบุคลากร ประเภทเงินเดือนและค่าจ้างประจำ • การโอนจัดสรรงบประมาณ ให้จัดทำและรับส่งข้อมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ (ระบบ GFMIS) 36

  37. การบริหารงบประมาณรายจ่าย สำหรับส่วนราชการ 3. การใช้รายจ่ายจากงบประมาณรายจ่าย 37

  38. การใช้รายจ่ายตามงบประมาณการใช้รายจ่ายตามงบประมาณ • ตามรายการประกอบ พ.ร.บ. • ตามที่ระบุในแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ • ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมาย • ประสิทธิภาพ/คุ้มค่า/โปร่งใส • สอดคล้องกับเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ • รับผิดชอบ • การโอนเปลี่ยนแปลง ให้คำนึงถึงประโยชน์ต่อประชาชนคุ้มค่า โปร่งใส ตรวจสอบได้ สอดคล้องต่อเป้าหมายการให้บริการ 38

  39. การใช้รายจ่ายจากงบประมาณรายจ่าย การใช้รายจ่ายจากงบประมาณรายจ่าย หลักเกณฑ์การใช้จ่าย • งบบุคลากร ให้ใช้จ่ายตามประเภทรายการที่กำหนด • งบดำเนินงาน ให้ใช้จ่ายตามประเภทรายการที่กำหนดโดยถัวจ่ายได้ ยกเว้น ค่าสาธารณูปโภค โอนได้หากไม่มีหนี้ค้างชำระ • งบลงทุน ให้ใช้จ่ายตามประเภทรายการที่กำหนด • งบเงินอุดหนุน ให้ใช้จ่ายตามประเภทรายการที่กำหนด • งบรายจ่ายอื่น ให้ใช้จ่ายตามประเภทรายการที่กำหนด 39

  40. การใช้จ่ายเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรรการใช้จ่ายเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร เงินเดือนและค่าจ้างประจำ และค่าจ้างชั่วคราว - ให้ กพ. เร่งรัดจัดทำบัญชีถือจ่าย โดยด่วนที่สุด 40

  41. ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุและค่าสาธารณูปโภค 1. การบริหารงบประมาณระดับ ตร. จะดำเนินการกันเงินงบประมาณของทุกหน่วยงาน (เฉพาะระดับ บช. ยกเว้น ศชต. ) จากงบดำเนินงาน จำนวนร้อยละ 2 ไว้ทางส่วนกลาง ตร. ไว้ใช้จ่ายสำหรับภารกิจเร่งด่วนในภาพรวม ตร. 2. ระดับกองบัญชาการ สามารถกันเงินไว้เพื่อการบริหารงานได้ไม่เกินร้อยละ 3 3. ระดับกองบังคับการ (ยกเว้น บก.อก.) สามารถกันเงินไว้เพื่อการบริหารงานได้ไม่เกินร้อยละ 5 4. เนื่องจากปี 53 ตร.ได้รับงบลดลงจำนวนมาก จึงห้ามมิให้หน่วยต่างๆโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณที่ได้รับทุกงบรายจ่ายไปใช้ในรายการอื่น แต่ถ้าหากมีความจำเป็นต้องโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ ให้เสนอขอรับความเห็นชอบจากตร.ก่อนดำเนินการทุกกรณี 41

  42. ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ 1. วางแผนการใช้จ่ายเงิน และแจ้งให้หน่วยในสังกัดทราบ 2. ถือปฏิบัติตามมาตรการประหยัดค่าสาธารณูปโภค 3. กำชับเรื่องการเบิกจ่าย 4.ห้ามใช้จ่ายงบประมาณที่ได้รับจัดสรร ผิดแผนงบประมาณ ผลผลิต / กิจกรรม 5. ตรวจสอบยอดเงินตามการอนุมัติเงิน กับยอดเงินที่ได้รับจัดสรรจาก ตร. หรือ บช.ในระบบ GF 42

  43. ค่าครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง 1. ก่อหนี้ผูกพันให้เสร็จสิ้นภายใน 31ม.ค.53 2. การใช้จ่ายหรือก่อหนี้ผูกพันงบประมาณ ต้องเป็นไป ตามรายการในแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ 43

  44. การใช้จ่ายเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรรการใช้จ่ายเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร เงินอุดหนุนและรายจ่ายอื่น • การใช้จ่ายหรือก่อหนี้ผูกพันงบประมาณ ต้องเป็นไปตามรายการในแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ 44

  45. การบริหารงบประมาณรายจ่าย สำหรับส่วนราชการ 4. หลักการสำคัญของการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่าย 45

  46. หลักการสำคัญของการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่ายหลักการสำคัญของการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่าย • เพื่อแก้ไขปัญหาในการดำเนินการ • เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพการให้บริการ • เพื่อพัฒนาบุคลากรและพัฒนาเทคโนโลยี • เพื่อสนับสนุนการบริหารงานตามแผนยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัด • โดยคำนึงถึง:ความประหยัด คุ้มค่า และต้องแสดงเหตุผล ความจำเป็น ความเหมาะสมได้ต้องไม่ทำให้เป้าหมายผลผลิต/โครงการตามแผนฯเปลี่ยนแปลงลดลงในสาระสำคัญ • ต้องไม่ทำให้ค่าสาธารณูปโภคค้างชำระเมื่อสิ้นปีงบประมาณ 46

  47. การโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณการโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณ ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ 1. หัวหน้าหน่วยงานที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ มีอำนาจในการโอนรายการงบประมาณในค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุในผลผลิตและกิจกรรมเดียวกัน 47

  48. 2. หัวหน้าหน่วยงาน ที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ มีอำนาจในการโอนงบประมาณ ค่าตอบแทน ใช้สอย และวัสดุ ไปตั้งจ่ายใน ค่าสาธารณูปโภค ในผลผลิตและกิจกรรมเดียวกัน 3. การโอนงบประมาณ จะต้องไม่เกิดผลกระทบกับการบริหารงบประมาณ 48

  49. 4. ห้ามนำงบประมาณค่าสาธารณูปโภค โอน ไปใช้จ่ายในรายการอื่น ๆ เนื่องจากงบประมาณที่ ตร. ได้รับไม่เพียงพอ 49

  50. การบริหารงบประมาณรายจ่าย สำหรับส่วนราชการ 5. การโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณรายจ่าย - ตามอำนาจของหัวหน้าส่วนราชการ - ต้องขอตกลงกับสำนักงบประมาณ - ต้องได้รับอนุมัติจาก คณะรัฐมนตรีก่อน 50

More Related