270 likes | 498 Views
ประเทศไทย กับสังคมสวัสดิการ. ดร. วรวรรณ ชาญด้วย วิทย์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 29 พฤศจิกายน 2555. หัวข้อการบรรยาย. อดีตและปัจจุบัน ประวัติย่อ รูปแบบสวัสดิการสังคมหลักๆ ในต่างประเทศ สวัสดิการสำหรับคนไทยกลุ่มต่างๆ อนาคต สวัสดิการสังคมที่คนไทยต้องการ
E N D
ประเทศไทยกับสังคมสวัสดิการประเทศไทยกับสังคมสวัสดิการ ดร. วรวรรณ ชาญด้วยวิทย์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 29 พฤศจิกายน 2555
หัวข้อการบรรยาย • อดีตและปัจจุบัน • ประวัติย่อ • รูปแบบสวัสดิการสังคมหลักๆ ในต่างประเทศ • สวัสดิการสำหรับคนไทยกลุ่มต่างๆ • อนาคต • สวัสดิการสังคมที่คนไทยต้องการ • ค่าใช้จ่าย ใครเป็นผู้จ่าย
ประวัติย่อๆ • สแกนดิเนเวีย • เยอรมัน • อังกฤษ
รูปแบบสวัสดิการสังคมหลักๆรูปแบบสวัสดิการสังคมหลักๆ บทบาทของรัฐ VDO
สวัสดิการสำหรับคนไทยกลุ่มต่างๆสวัสดิการสำหรับคนไทยกลุ่มต่างๆ • ประวัติย่อๆ • วัยเด็ก • วัยผู้ใหญ่ • วัยสูงอายุ • ทุกช่วงวัย VDO
สวัสดิการสังคมในอนาคตสวัสดิการสังคมในอนาคต ไปทางไหนดี?
ควรทราบ: ประชากรในอนาคต
ควรทราบ: สาเหตุที่ต้องมีบทบาทของรัฐ • ความล้มเหลวของตลาด (market failures) • ตัวอย่าง การประกันสุขภาพ การประกันการว่างงาน • แต่ต้องระวังความล้มเหลวของรัฐ (government failures) • รัฐมีข้อจำกัดเรื่องข้อมูล เช่น การไม่รู้ว่าจะมีผู้สูงอายุจำนวนมาก ทำให้เงินใช้จ่ายเพื่อการรักษาพยาบาลและบำนาญสูงขึ้น • รัฐมีข้อจำกัดในการตอบสนองการปรับตัวของตลาด เช่น รัฐกำหนดราคาค่ารักษาพยาบาล แต่หมอและคนไข้เป็นผู้กำหนดการใช้บริการ และการรักษา • รัฐมีข้อจำกัดในการควบคุมผู้ปฏิบัติงาน เช่น หมอและคนใช้รวมมือกันในการทำให้ค่ารักษาพยาบาลแพงขึ้น • รัฐมีข้อจำกัดในด้านการสนับสนุนทางการเมือง เช่น นักการเมืองระดับจังหวัดสนับสนุนให้ผู้ลาออกจากงานได้รับเงินประกันการว่างงาน
สวัสดิการสังคมที่คนไทยต้องการสวัสดิการสังคมที่คนไทยต้องการ • ถ้วนหน้า หรือเฉพาะคนจน • สวัสดิการที่จัดโดยรัฐควรครอบคลุมอะไรบ้าง • ผู้ดำเนินการควรเป็นใคร • คนไทยเต็มใจจ่ายภาษีเพิ่มหรือไม่ ทำแบบสอบถาม แสดงผลการสำรวจคนไทย
ค่าใช้จ่ายสวัสดิการสังคมค่าใช้จ่ายสวัสดิการสังคม
ค่าใช้จ่ายเพื่อการศึกษาประมาณ 3.5-3.9 % ของ GDP
การศึกษาและสวัสดิการสังคมการศึกษาและสวัสดิการสังคม
ค่าใช้จ่ายสวัสดิการสังคมค่าใช้จ่ายสวัสดิการสังคม
สวัสดิการด้านสุขภาพ 2551
สวัสดิการผู้สูงอายุ 2551
ระบบสวัสดิการสังคม บทบาทของรัฐ: บนหลักความเสมอภาคและความยั่งยืน ข้าราชการ ลูกจ้าง อาชีพอื่นๆ
ตัวอย่าง หลักประกันสุขภาพ • กระทรวงสาธารณสุขทำหลายบทบาท จนทำให้เกิดความขัดแย้งของผลประโยชน์ในฐานะของการเป็นผู้กำกับ • วิวัฒนาการของหลักประกันสุขภาพสำหรับประชาชน 3 กลุ่มเป็นแบบตัวใครตัวมัน • ขาดคนกลางที่จะดูแลว่าประชาชนได้รับหลักประกันสุขภาพที่เป็นธรรม • ประเทศขาดกลไกที่จะกำกับการใช้เงินจากภาษีของประชาชน
ตัวอย่าง หลักประกันรายได้ผู้สูงอายุ • วิวัฒนาการของหลักประกันด้านรายได้ของผู้สูงอายุในประเทศไทยมีความเป็นมาคล้ายๆ กับหลักประกันสุขภาพ คือ เป็นวิวัฒนาการแบบแนวตั้ง ขาดการบูรณาการ ขาดนโยบายภาพรวมที่มองประโยชน์ของประชาชนเป็นหลัก และขาดความเป็นธรรม • การสนับสนุนจากรัฐสำหรับผู้สูงอายุแต่ละกลุ่มขาดความโปร่งใสและความน่าไว้วางใจ
ผลของการสมทบเงินต่อช่องว่างของรายได้ผลของการสมทบเงินต่อช่องว่างของรายได้
ผลของการสมทบเงินต่อช่องว่างของรายได้ผลของการสมทบเงินต่อช่องว่างของรายได้
ประเทศไทยยังขาดกลไกสำคัญที่จะให้หลักประกันด้านรายได้สำหรับผู้สูงอายุเป็นระบบที่มีความเป็นธรรม และดูแลเรื่อง • บำนาญพื้นฐานควรเป็นเท่าไร • บำนาญของประชาชนกลุ่มต่างๆ ควรมีการปรับตามอัตราเงินเฟ้อหรือไม่ • อายุเกษียณสำหรับคนไทย • กติกา การย้ายกองทุนของสมาชิกกลุ่มต่างๆ • ธรรมาภิบาลของกองทุนต่างๆ • ความมั่นคงของกองทุนต่างๆ ควรได้รับการติดตามอย่างไร • การบริหารจัดการบางอย่างร่วมกัน เช่น ระบบข้อมูล การเก็บเงิน การจ่ายเงิน สามารถทำร่วมกันได้หรือไม่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบ • กองทุนต่างๆ สามารถต่อรองกับรัฐบาลเพื่อให้ออกพันธบัตรผลตอบแทนสูงแก่ประชาชนได้หรือไม่ และอื่นๆ ที่เป็นประโยชน์แก่ประชาชนทุกกลุ่ม
สวัสดิการสังคมของไทยกำลังพัฒนาไปตามแบบไทยๆ ค่าใช้จ่ายในอนาคตจะสูงเพียงใดขึ้นอยู่กับทางเลือกของสวัสดิการที่ต้องการ ปัญหาจะไม่ได้อยู่ที่ค่าใช้จ่าย แต่จะเป็นปัญหาของการจัดการระบบให้มีประสิทธิภาพและเป็นธรรม และเป็นระบบที่ประชาชนไว้ใจ (trust) อภิปราย สรุปผลแบบสอบถาม