1.61k likes | 3.25k Views
งานส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย. งานสาธารณสุข. งาน ควบคุมป้องกัน. งาน ส่งเสริม. งาน รักษาฯ. งาน ฟื้นฟูฯ. Wellness. Illness. การส่งเสริมสุขภาพ (แข็งแรง พัฒนาการสมวัย อยู่เย็นเป็นสุข). ป้องกันทั้งระบบทั้งชุมชน (จัดการอนามัย สวล. ลดพฤติกรรมเสี่ยง). ป้องกันเฉพาะโรค (ไม่ให้เกิดโรคนั้นอีก).
E N D
งานส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยงานส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย
งานสาธารณสุข งานควบคุมป้องกัน งานส่งเสริม งานรักษาฯ งานฟื้นฟูฯ Wellness Illness การส่งเสริมสุขภาพ (แข็งแรง พัฒนาการสมวัย อยู่เย็นเป็นสุข) ป้องกันทั้งระบบทั้งชุมชน (จัดการอนามัย สวล. ลดพฤติกรรมเสี่ยง) ป้องกันเฉพาะโรค(ไม่ให้เกิดโรคนั้นอีก) ควบคุมโรค (ไม่ให้แพร่ระบาด) เจ็บป่วย งานอนามัย สวล./ส่งเสริมสุขภาพ งานอนามัย สวล./ ส่งเสริมสุขภาพ งานป้องกันโรค/อนามัย สวล./ สส. งานรักษา งานฟื้นฟู งานควบคุมโรค
งานส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยงานส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย จารุวรรณ เย็นเสมอ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ ยุทธศาสตร์การพัฒนา
แนวคิด เขตสุขภาพ รูปแบบระบบบริการระดับพื้นที่ ที่ออกแบบให้ใกล้ชิดประชาชนมากขึ้น Purchaser กับ Provider มีเป้าหมายที่ชัดเจนร่วมกัน(Commissioning) ในการบริหารจัดการระบบสุขภาพ โดยมีการอภิบาลระบบโดยกรรมการที่เป็นอิสระและมาจากทุกภาคส่วน ถือว่าเป็นการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ -การจัดบริการลง สู่พื้นที่มากที่สุด -การตัดสินใจเรื่อง การจัดสรรสรรพยากร ตาม health need การจัดการระบบ อย่าง มีส่วนร่วม ทั่วถึง เป็นธรรม ยืดหยุ่น ยั่งยืน ตาม health need หลักประกันสุขภาพ เพื่อ ปชช.ได้รับบริการขั้นพื้นฐาน
ความเชื่อมโยงอำเภอ/ตำบลสุขภาพดีความเชื่อมโยงอำเภอ/ตำบลสุขภาพดี ผลลัพธ์ประชาชนสุขภาพดี กำหนดพื้นที่ร่วมกัน ประเมินร่วมกัน กำหนดประเด็นปัญหา
๑. การบริหารจัดการสุขภาพ เป็นเอกภาพระดับอำเภอ ๕. ประชาชนและภาคีมีส่วนร่วม ในการจัดการปัญหาสุขภาพ DHS ๒. การบริหารทรัพยากรร่วมกัน ๔. การสร้างคุณค่าและคุณภาพ กับเครือข่ายบริการปฐมภูมิ ๓. การจัดบริการปฐมภูมิที่จำเป็น
สุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีชุมชนมีการพัฒนาที่ยั่งยืนสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีชุมชนมีการพัฒนาที่ยั่งยืน • แนวคิดการบูรณาการขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน • เครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ • (DHSA : District Health System Appreciation) • เอกภาพของทีมสุขภาพระดับอำเภอ (Unity of District Health Team) • บริการพื้นฐานที่จำเป็น (Essential Health Care) • การดูแลสุขภาพตนเอง (Self Care) • งบประมาณ, ทรัพยากรต่างๆ และโครงสร้างองค์กร • ผลลัพธ์ทางสุขภาพที่ดีขึ้น ทีมสุขภาพเป็นสุข และชุมชนไม่ทอดทึ้งกัน • การประเมินผล และเรียนรู้ตามบริบท ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น • พฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง • ลดอัตราการป่วยตายด้วยโรควิถีชีวิต • ลดความรุนแรงของโรคที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต • นโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพดี • ชุมชนสุขภาพดี (Healthy community) • สิ่งแวดล้อมดี พลังงานสะอาด (Green community) • แก้ไขปัญหาความยากจน(Poverty Eradication) • ภาครัฐ • มหาดไทย • พลังงาน • เกษตร • ศึกษาธิการ • พัฒนาสังคมฯ • สาธารณสุข • เอกชน • หน่วยงาน/องค์กรอื่นที่เกี่ยวข้อง ตำบลจัดการสุขภาพดี • วินิจฉัย/รักษา • Tele Medicine • [Web Camera] • Family Folder • Home Health Care • Home ward • HealthScreening • Curative • Referral System • การแก้ไขปัญหาและพัฒนาด้านสุขภาพ • โรคไร้เชื้อเรื้อรัง/โรคติดต่อทั่วไป • กิจกรรมพัฒนาสุขภาพ/พฤติกรรมสุขภาพ • สร้างรายได้ • แก้ไขปัญหาความยากจน แผนสุขภาพตำบล • วิสาหกิจชุมชน รพ.สต. • กองทุนในพื้นที่ (กองทุนหมู่บ้าน กองทุนพัฒนาสตรี กองทุนสัจจะ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ฯลฯ) • กองทุน CSR • กองทุนมูลนิธิ ภาคประชาชน อปท. * กระบวนพัฒนาบทบาทภาคประชาชน หมู่บ้าน/ตำบลจัดการสุขภาพ หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ • ภาคีเครือข่ายต่างๆบริหารยุทธศาสตร์ร่วมกัน • : SRM PLA AIC • การพัฒนาศักยภาพ อสม. • การพัฒนาการเรียนรู้ร่วมกันของชุมชน * รร.วัตกรรมสุขภาพชุมชน / รร.อสม. • กำหนดนโยบาย/ข้อบังคับ - กระบวนการมีส่วนร่วม - สอดคล้องกับท้องถิ่น • หาแนวร่วม/สร้างทีม/คณะทำงาน • จัดทำแผนสนับสนุนแผน • สนับสนุนการเรียนรู้ • ร่วมกำหนดนโยบายท้องถิ่น • สะท้อนข้อมูล • ร่วมในกระบวนการทำแผน • ร่วมปฏิบัติ/ดำเนินการ
มีความรู้ เครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) 1. เอกภาพของทีมระดับอำเภอ 2.บริหารทรัพยากรร่วมกัน 3.การจัดบริการปฐมภูมิ 4.การสร้างคุณค่า 5.ภาคีมีส่วนร่วมในการจัดการ ●ภาครัฐ ●ภาคเอกชน ●ผู้นำทางความคิดภาคประชาชน (3rd party) ●อื่นๆ ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน รพ.สต. อปท. ภาคประชาชน มีสุขภาพดี มีรายได้ -มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่พึงประสงค์ -สามารถป้องกันการเจ็บป่วย/การตาย ในโรคที่ป้องกันได้
การจัดการข้อมูล • ความร่วมมือจากภาคี “ตำบลสุขภาพดีนครชัยบุรินทร์”ปี 2556 ตำบลสุขภาพดี • คุณลักษณะสู่ความเข้มแข็งและยั่งยืน สื่อสารสาธารณะ/จัดการความรู้ เสริมสร้างพลังความเข้มแข็งภาคี • มีแผน&ประเมินผลการดำเนินงาน • ระดมทรัพยากร ภาคี รพ.สต. รร.อบต. เทศบาล วัด ชมรม คลังสมอง สสจ./สสอ. 5ศูนย์วิชาการ(สคร./ศูนย์สชภาค/ศูนย์วิทย์ฯ/ศูนย์สุขภาพ จิต/ศูนย์อนามัย) สปสช. สสจ./ สสอ. ติดตาม/กำกับ/ตรวจสอบ ประ ชา ชน ทุก กลุ่มวัย มี สุข ภาพ ดี กระบวนการ ผลลัพธ์ แม่และเด็ก วัยเรียน วัยทำงาน วัยรุ่น ชุมชนสุขภาพดี สูงอายุ สื่อสารสาธารณะ/การจัดการความรู้
ประเด็น/เรื่อง/หัวข้อ สุขภาพกลุ่มวัยต่างๆ โรคไม่ติดต่อสภาวะเสี่ยง สภาวะโภชนาการ เบาหวาน-ความดัน อาหารปลอดภัย สภาวะแวดล้อมขยะชุมชน โรคติดต่อ
4.ระดมทรัพยากร จัดทำแผนแก้ไขปัญหาในพื้นที่
องค์ประกอบของแผนงาน PP กลุ่มวัย
วงจรชีวิต ครอบครัว
แผนพัฒนาระบบบริการเด็กและสตรีแผนพัฒนาระบบบริการเด็กและสตรี ลำดวน/จอมพระ/ เขวาฯ node รพ.สุรินทร์ ปราสาท สังขะ ท่าตูม รัตนบุรี ศีขรภูมิ รพ.สายใยรักแห่งครอบครัวระดับทอง กาบเชิง/พนมดงรัก บัวเชด/ ศรีณรงค์ สนม/โนนนารายณ์ สำโรงทาบ ชุมพลบุรี รพ.สต. สายใยรักแห่งครอบครัว/ตำบลนมแม่
เป้าหมาย การพัฒนากลุ่มสตรีและเด็ก
ขั้นตอนการประเมินรับรองโรงเรียนขั้นตอนการประเมินรับรองโรงเรียน โรงเรียน ประเมินตนเอง 10 องค์ประกอบ ประเมินรับรองโดยทีมอำเภอ ทองแดง เงิน ทอง ทีมจังหวัดประเมินรับรอง ทองพัฒนา ทีมเขต/กระทรวงประเมินรับรอง เพชร เพชรตัดเพชร
System manager ระดับจังหวัด/อำเภอ การลดปัจจัยเสี่ยงในประชากรและชุมชน คลินิก NCD คุณภาพ (รพศ., รพท., รพช.) การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง (น้ำหนักเกินและอ้วน กลุ่มปัจจัยเสี่ยง กลุ่มเสี่ยงสูง) • ชุมชนและองค์กรมีการดำเนินงานส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพและปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อพฤติกรรมลดปัจจัยเสี่ยง 1.หมู่บ้าน/ชุมชน/ตำบลสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย -หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง -ตำบลจัดการสุขภาพ 2.สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัยกายใจเป็นสุข • สถานบริการสาธารณสุขและชุมชนมีการสื่อสารสาธารณะ(3อ 2ส + อ้วน/น้ำหนักเกิน) • จังหวัด/อำเภอ/ตำบล/ชุมชน ส่งเสริมการใช้มาตรการทางกฎหมาย/มาตรการทางสังคมเพื่อลดการบริโภคยาสูบและแอลกอฮอล์ • รพศ./รพท./รพช.พัฒนาคลินิก NCD คุณภาพ • คลินิกNCDมีการติดตามผลลัพธ์การรักษาดูแลผู้ป่วยDM,HT 1.การลดพฤติกรรมเสี่ยงของผู้ป่วย • 2.การคัดกรองการสูบบุหรี่ • 3.การคัดกรองภาวะซึมเศร้า ประเมินภาวะเครียดและการติดสุรา • 4.ประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) 5.ผู้ป่วยDM/HT ควบคุมระดับน้ำตาล/ระดับความดันโลหิตได้ดี 6. การคัดกรองภาวะแทรกซ้อน 7. การดูแลรักษา/ส่งต่อผู้ที่มีภาวะแทรกซ้อน • ค้นหากลุ่มเสี่ยงผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยง และผู้ป่วยรายใหม่ในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป • เสริมพลังความสามารถในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่กลุ่มที่มีภาวะอ้วน/น้ำหนักเกิน กลุ่มเสี่ยงสูง และกลุ่มป่วย ระดับจังหวัด 1.จัดทำและสนับสนุนแนวทาง/คู่มือ/มาตรการ/สื่อ 2.พัฒนาศักยภาพบุคลากร 3.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4.พัฒนาและผลักดันนโยบายรวมทั้งการบังคับใช้กฎหมาย 1.จัดทำและสนับสนุนแนวทาง/คู่มือมาตรการ/สื่อ 2.พัฒนาศักยภาพบุคลากร (นักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ) ระดับส่วนกลาง 1.จัดทำและสนับสนุนแนวทาง/คู่มือ/เกณฑ์ 2.พัฒนาศักยภาพบุคลากร 3.สุ่มสำรวจการประเมินคุณภาพ
กรอบแนวคิดเชิงยุทธศาสตร์ผู้สูงอายุ/ผู้พิการกรอบแนวคิดเชิงยุทธศาสตร์ผู้สูงอายุ/ผู้พิการ ชุมชน เครือข่ายสังคมออนไลน์ หน่วยงานสนับสนุนจังหวัด/เขต หน่วยบริการ (โรงพยาบาล) ได้รับการดูแล 100% รพ.สต. เพื่อตรวจรักษา รักษาต่อเนื่อง/รับยา ไปรพ.ได้ ไปไม่ได้/ไม่มีคนพาไป มีญาติดูแล ไม่มีญาติดูแล
ผลลัพธ์ที่พึ่งประสงค์Node LTCระดับเขต ดัชนีชี้วัดหลักในระดับเขต (Regional Key Performance Indicators) ปัจจัยบ่งชี้ความสำเร็จ (Critical Success Factor) 1)ร้อยละของผู้พึ่งพิงติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการดูแล HHC โดยบุคลากรอย่างน้อย 2 ครั้ง ต่อคนต่อปี 2) ร้อยละของอำเภอมีการดำเนินงานตำบลต้นแบบLTC 1 อำเภอ 1 ตำบล 3) ร้อยละของผู้สูงอายุ Sub acute ได้รับส่งต่อดูแลในพื้นที่/ชุมชน(Homeward) ผู้สูงอายุทุกกลุ่ม (ติดสังคม/ติดเตียง/ติดบ้าน) ได้รับการดูแลสุขภาพจากทั้งหน่วยบริการสาธารณสุข สังคม และครอบครัว
สรุปแนวทางการพัฒนางานสุขภาพจิตที่สำคัญในระบบสาธารณสุขสรุปแนวทางการพัฒนางานสุขภาพจิตที่สำคัญในระบบสาธารณสุข กลุ่มเป้าหมาย
การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน (215.2) ร้อยละของตำบลที่มีการจัดการสุขภาพที่ดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน
แนวทางการพัฒนา DHSA ด้วยกลไกบันได 5 ขั้น ขั้นที่ 5 5.5 ชุมชนและเครือข่ายมีการกำหนดนโยบายสาธารณะด้านการจัดการสุขภาพ 5.4 มีการขยายผลประเด็นสุขภาพอื่น หรือมสามารถเป็นแบบอย่างที่ดี 5.3 การพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงการดูแลมิติทางจิตใจและจิตวิญญาณ 5.2 เจ้าหน้าที่และทีมงานรู้สึกมีคุณค่าในตัวเองและงานที่ทำ 5.1 คณะกรรมการเครือข่ายสุขภาพมีการประเมินเพื่อวางแผนพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ขั้นที่ 4 4.5 ชุมชนและเครือข่ายมีแผนการบริหารจัดการสุขภาพชุมชน พร้อมมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ร่วมตรวจสอบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น 4.4 มีการติดตามประเมินผลการพัฒนาและการแก้ปัญหา 4.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ นำไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม 4.2 บุคคลอื่นเห็นคุณค่าและชื่นชมเจ้าหน้าที่หรือทีมงาน 4.1 คณะกรรมการสามารถดำเนินงานอย่างได้อย่างเป็นรูปธรรม (ตัวอย่าง โครงการต่างๆ) ขั้นที่ 3 3.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการคิดวางแผน จัดการระบบสุขภาพชุมชน ร่วมกัน และมีผลลัพธ์เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม 3.4 มีการพัฒนาและแก้ปัญหาตามบริบท หรือ การดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน(Essential care) 3.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ 3.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงานมีความพึงพอใจในงานและผลลัพธ์ของงานที่เกิดขึ้น 3.1 คณะกรรมการมีการใช้ข้อมูลในการวางแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ ขั้นที่ 2 2.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ และอปท. ชุมชนสนับสนุนงบประมาณ( Resource sharing) 2.4 มีการวิเคราะห์ข้อมูลและ ปํญหาตามบริบทพื้นที่ หรือการดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน (Essential care) 2.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรที่เน้นการพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge, CBL, FM) และทักษะ (Skill) 2.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงานนำข้อมูลของพื้นที่มาวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา 2.1 คณะกรรมการมีการประชุมอย่างสม่ำเสมอพร้อมหลักฐานการบันทึก ขั้นที่ 1 1.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ 1.4 มีการรวบรวมข้อมูลและปัญหาสุขภาพของพื้นที่ 1.3 มีการพัฒนาบุคลากรตามความต้องการของบุคคลหรือหน่วยงานส่งเข้ารับการอบรมตามแผนจังหวัด/กระทรวง 1.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงาน ทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย 1.1 มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ พร้อมกำหนดบทบาทหน้าที่ชัดเจน (Unity District Health Team)
“ตำบลสุขภาพดี” หลักคิดบูรณาการสู่ความเข้มแข็ง
กลุ่มวัยแม่และเด็ก 0-5 ปี หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 60 มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน ร้อยละ 30 3. เด็กมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 90 4. เด็กได้รับ EPI ครบถ้วน ร้อยละ 95 5. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ระดับดีมาก อย่างน้อย 1 แห่ง
วัยเรียน • การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในเด็กวัยเรียน มีการให้คะแนนดังนี้ • มีผลสำเร็จจากการดำเนินงานในโรงเรียนสุขภาพดีนครชัยบุรินทร์ (5 คะแนน)ในประเด็นดังต่อไปนี้ • ร้อยละ 100 ได้รับการประเมิน SDQ • เด็กติดเกม (เด็กวัยเรียนกลุ่มปกติไม่มีการติดเกมเพิ่มขึ้น) • เด็กจมน้ำ (เสียชีวิตน้อยกว่าร้อยละ 50 ของปีที่ผ่านมา หรือ ไม่มีการจมน้ำเสียชีวิตในเด็กวัยเรียน) • เด็กวัยเรียนฟันแท้ผุไม่เกินร้อยละ 40 • มีภาวะอ้วน (ไม่เกินร้อยละ 7)ไม่รวมเริ่มอ้วน • เตี้ย (ไม่เกินร้อยละ 5) ไม่รวมค่อนข้างเตี้ย • สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน(จำนวนโรงเรียนผ่านเกณฑ์สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมร้อยละ 50
วัยรุ่น • สถานศึกษา • มีการจัดการเรียนรู้ “เพศศึกษา • ผู้บริหารสถานศึกษาเข้าใจ จัดหลักสูตร • จัดให้มีระบบพี่เลี้ยงทั้งในและนอกสถานศึกษา ในการสอนแนะ (Coaching) • จัดให้มีการความเข้าใจให้กับครูอื่นๆ ในโรงเรียน (การอบรม 1 – 2 วัน) • เครือข่ายสุขภาพตำบล • นโยบายและมาตรการ • เยาวชนทั้งในและนอกสถานศึกษามีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนา • มีการเชื่อมโยงระบบบริการ • สร้างความตระหนักพ่อแม่ ผู้ปกครองและผู้นำชุมชน
วัยทำงาน 1. ร้อยละ 80 ของรอบเอวในชายที่มีค่าปกติ และร้อยละ 55 ของรอบเอวหญิงที่มีค่าปกติ 2. ร้อยละ 80 ของสตรีอายุ 30-70 ปีมีการตรวจเต้านมด้วยตนเอง 3. ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองด้วยวาจาหา DM/HT และมีการเก็บข้อมูลเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ(3อ2ส) 4. ร้อยละของประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคความดันโลหิตสูง (Pre-hypertention , BP =120-139 , 80-89 mmHg.) ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง (hypertention) รายใหม่ไม่เกินร้อยละ 10 5. ร้อยละของประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน (Pre-diabetes , FBS =100-125 mg/dl) ป่วยเป็นโรคเบาหวาน (Diabetes) รายใหม่ ไม่เกินร้อยละ 5
ผู้สูงอายุ มีการพัฒนาสู่ตำบลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว 1.มีข้อมูลผู้สูงอายุตามกลุ่มศักยภาพตามความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน 2.มีการบริการคัดกรองภาวะซึมเศร้า/สมองเสื่อม 3.มีการดำเนินกิจกรรม 3อ 2ส 4.มีชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ 5.มีอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุในชุมชน 6.มีบริการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านที่มีคุณภาพ (Home health Care) โดยบุคลากรสาธารณสุข 7.มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในระดับตำบล 8.มีระบบการดูแลผู้สูงอายุ กลุ่มที่ 2 (ติดบ้าน) และผู้สูงอายุ กลุ่มที่ 3 (ติดเตียง) 9.มีบริการดูแลด้านสังคมจิตใจในผู้สูงอายุโดยเฉพาะผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้า/สมองเสื่อม
กลุ่มชุมชนสุขภาพดีวิถีนครชัยบุรินทร์ (5 คะแนน) • มีการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ • อาหารผ่านเกณฑ์น้ำมันทอดซ้ำ • สถานประกอบการอาหารผ่านมาตรฐาน (ร้านอาหาร แผงลอย ตลาดสด) • มีการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำประปา • ชุมชน/หมู่บ้านมีการจัดการขยะ • การลด ละ เลิก การใช้สารกำจัดศัตรูพืช • หมู่บ้านสุขภาพดีวิถีนครชัยบุรินทร์
กลุ่มชุมชนสุขภาพดีวิถีนครชัยบุรินทร์ (5 คะแนน) • โรคที่เป็นปัญหาในพื้นที่ • โรคเอดส์ โรคไข้เลือดออก โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง • วัณโรคปอด โรคมาลาเรีย โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน/อาหารเป็นพิษ • โรคหนองพยาธิ โรคพิษสุนัขบ้า โรคหนอนพยาธิ • โรคเลปโตสไปโรสิส โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน • โรคไข้หวัดใหญ่ โรคเรื้อน • การป้องกันเด็กจมน้ำ การควบคุมการบริโภคยาสูบ • การควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลล์ • โรคจากมลพิษสิ่งแวดล้อม โรคจากการประกอบอาชีพ • การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน โรคอหิวาตกโรค โรคมือเท้าปาก