1 / 22

การลงรายการทรัพยากรห้องสมุด

การลงรายการทรัพยากรห้องสมุด. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. อนุรักษ์ พรมเลข ศึกษานิเทศก์ สพป. ชร 2. ทรัพยากรห้องสมุด. สื่อ หรือ วัสดุที่ใช้เก็บบันทึกสารสนเทศ อาจเก็บได้ในหลายรูปแบบในการบันทึก มีทั้งตัวอักษร ข้อความ รูปภาพ และเสียง ทรัพยากรห้องสมุดแบ่งออกเป็น 3 ประเภท สื่อสิ่งพิมพ์

Download Presentation

การลงรายการทรัพยากรห้องสมุด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การลงรายการทรัพยากรห้องสมุดการลงรายการทรัพยากรห้องสมุด ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. อนุรักษ์ พรมเลข ศึกษานิเทศก์ สพป. ชร 2

  2. ทรัพยากรห้องสมุด สื่อ หรือ วัสดุที่ใช้เก็บบันทึกสารสนเทศ อาจเก็บได้ในหลายรูปแบบในการบันทึก มีทั้งตัวอักษร ข้อความ รูปภาพ และเสียง ทรัพยากรห้องสมุดแบ่งออกเป็น 3 ประเภท สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโทรทัศน์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์

  3. ขั้นตอนการลงรายการทรัพยากรห้องสมุดขั้นตอนการลงรายการทรัพยากรห้องสมุด เมื่อได้รับหนังสือเข้ามาในห้องสมุดบรรณารักษ์ ต้องดำเนินการดังนี้ - ตรวจสอบกับฐานข้อมูลทรัพยากรห้องสมุด - ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลถูกต้องหรือไม่ - ลงรายการทางบรรณานุกรม - พิมพ์ป้ายติดสันหนังสือ - จัดทำบรรณานุกรมใหม่ - จัดนิทรรศการ / ประชาสัมพันธ์หนังสือใหม่

  4. ส่วนต่างๆ ของหนังสือ • ปกนอก ปกใน • หน้าลิขสิทธิ์ คำนำ • สารบัญ บทนำ • บรรณานุกรม ภาคผนวก

  5. การกำหนดเลขเรียกหนังสือการกำหนดเลขเรียกหนังสือ

  6. การกำหนดเลขเรียกหนังสือการกำหนดเลขเรียกหนังสือ • เลขหมู่ ตามการแบ่งหนังสือด้วยระบบ ดิวอี้ได้แก่เลขหมู่ 000 – 999 รวมทั้งอักษรแทนเลขหมู่หนังสือบางประเภท เช่น - นวนิยาย ใช้อักษรแทนเลขหมู่ น - รวมเรื่องสั้น ใช้อักษรแทนเลขหมู่ รส - หนังสือสำหรับเด็ก ใช้อักษรแทนเลขหมู่ ภ

  7. การกำหนดเลขเรียกหนังสือการกำหนดเลขเรียกหนังสือ • เลขหนังสือ • เป็นเครื่องหมายประจำหนังสือเพื่อช่วยในการจดจำ ช่วยในการจัดเก็บและค้นหา ได้รวดเร็วขึ้น ประกอบด้วย • - อักษรผู้แต่ง • - เลขผู้แต่ง • - อักษรชื่อเรื่อง

  8. การกำหนดเลขเรียกหนังสือการกำหนดเลขเรียกหนังสือ 1. พยัญชนะตัวแรกของชื่อผู้แต่ง 2. รูปพยัญชนะ หรือรูปสระใด เกาะติดพยัญชนะตัวแรก 3. ผู้แต่งเป็นคณะ/สำนักพิมพ์ใช้ชื่อหนังสือ

  9. ตารางกำหนดเลขผู้แต่ง ภาษาไทย (มธ)

  10. การกำหนดเลขเรียกหนังสือการกำหนดเลขเรียกหนังสือ

  11. การกำหนดเลขเรียกหนังสือการกำหนดเลขเรียกหนังสือ • ส่วนประกอบเพิ่มเติม - สัญญาลักษณ์พิเศษ - บอกเนื้อหา - ปีที่พิมพ์

  12. หลักการกำหนดเลขหมู่ • จัดหมวดหมู่ตามเนื้อหาวิชาเป็นอันดับแรก หลังจากนั้นจึงพิจารณารูปแบบการเขียน • ให้เลขหมู่ตรงกับเนื้อหาวิชามากที่สุดและครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมด • หนังสือบันเทิงคดีบางประเภทไม่ต้องให้เลขตามระบบดิวอี้ สามารถใช้อักษรพิเศษแทนได้

  13. ขั้นตอนการกำหนดเลขหมู่ขั้นตอนการกำหนดเลขหมู่ • ตรวจสอบรายการหนังสือของห้องสมุดว่าเคยมีหรือไม่ - ให้ต่อเลขฉบับซ้ำ ( ฉ ) เมื่อเป็นเรื่องเดียวกัน - พิมพ์ ปีต่างกันใช้เลขหมู่เดิม เปลี่ยนปี พศ. • แยกหนังสือเป็นหมวดๆ • อ่านเนื้อหาและพิจารณา ระบุหมวดหมู่ สำหรับการติด/เขียนเลขเรียกหนังสือนั้น ขอแนะนำให้ใช้ ขนาด A 8 25 X 38 mm

  14. Dewey Decimal Classification เมลวิลดิวอี้ (Melvil Dewey) ชาวอเมริกัน เป็นผู้คิดระบบนี้ขึ้นในขณะที่เป็นผู้ช่วยบรรณารักษ์ เรียกย่อ ๆ ว่าระบบ D.C. หรือ D.D.C เป็นระบบการจัดหมู่ที่นิยมใช้แพร่หลายที่สุดระบบหนึ่ง

  15. หมวดใหญ่ (Classes)

  16. หมวดย่อย (Division) การแบ่งครั้งที่ 2 คือการแบ่งหมวดใหญ่แต่ละหมวดออกเป็น 10 หมวดย่อย รวมเป็น 100 หมวดย่อย โดยใช้ตัวเลขหลักสิบแทนสาขาวิชาต่าง ๆ เช่น 000 เบ็ดเตล็ดหรือความรู้ทั่วไป 010 บรรณานุกรม 020 บรรณารักษศาสตร์ และสารนิเทศศาสตร์ 030 สารานุกรมไทยทั่วไป 040 ความเรียงทั่วไป 050 วารสารทั่วไป

  17. หมู่ย่อย (Section) • การแบ่งครั้งที่ 3 คือการแบ่งหมวดย่อยแต่ละหมวดออกเป็น 10 หมู่ย่อย รวมเป็น 1,000 หมู่ย่อย โดยใช้เลขหลักหน่วยแทนสาขาวิชา ตัวอย่างหมวดย่อย 330 แบ่งออกเป็นหมู่ย่อยดังนี้ 330 เศรษฐศาสตร์ 331 เศรษฐศาสตร์แรงงาน 332 เศรษฐศาสตร์การเงิน 333 เศรษฐศาสตร์ที่ดิน 334 สหกรณ์

  18. จุดทศนิยม การแบ่งครั้งที่ 4 จากการแบ่งเป็นหมู่ย่อยหรือการแบ่งครั้งที่ 3 ยังสามารถแบ่งให้ละเอียดออกไปได้โดยใช้จุดทศนิยม เพียงระบุเนื้อหาวิชาเฉพาะเจาะจง • ตัวอย่างหมู่ย่อย 332 แบ่งออกเป็นจุดทศนิยมดังนี้ • 332 เศรษฐศาสตร์การเงิน • 332.1 ธนาคารและการธนาคาร • 332.11 ธนาคารกลางของประเทศ ธนาคารแห่งชาติ • 332.12 ธนาคารพาณิชย์ • 332.178 บริการพิเศษ เช่น บัตรเครดิต

  19. รูปแบบ 1 2 3 . 4 5 6 • จุดทศนิยม • หมู่ย่อย (Section) • หมวดย่อย (Division) • หมวดใหญ่ (Classes)

  20. ฝึกปฏิบัติ

  21. ฝึกปฏิบัติ

  22. Thank you

More Related