601 likes | 930 Views
การรายงานผลการดำเนินงาน. วิเคราะห์ผลการดำเนินงานเทียบกับเป้าหมาย. อธิบายเหตุผลที่ผลการดำเนินงาน สูงหรือต่ำกว่าเป้าหมาย ผลการดำเนินงานตัวชี้วัดนี้มาจาก กิจกรรมสำคัญอะไรบ้าง ปัญหา อุปสรรคที่สำคัญ ที่ทำให้ผลการดำเนินงานไม่บรรลุเป้าหมาย ปัจจัยที่ส่งเสริม ให้ผลการดำเนินงานสูงกว่าเป้าหมาย
E N D
การรายงานผลการดำเนินงานการรายงานผลการดำเนินงาน
วิเคราะห์ผลการดำเนินงานเทียบกับเป้าหมายวิเคราะห์ผลการดำเนินงานเทียบกับเป้าหมาย • อธิบายเหตุผลที่ผลการดำเนินงานสูงหรือต่ำกว่าเป้าหมาย • ผลการดำเนินงานตัวชี้วัดนี้มาจากกิจกรรมสำคัญอะไรบ้าง • ปัญหา อุปสรรคที่สำคัญที่ทำให้ผลการดำเนินงานไม่บรรลุเป้าหมาย • ปัจจัยที่ส่งเสริมให้ผลการดำเนินงานสูงกว่าเป้าหมาย • ผลการดำเนินงานสอดคล้องกับการใช้จ่ายเงินในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับตัวชี้วัดนั้นๆหรือไม่ • แนวทางในการดำเนินการเพื่อให้ผลการดำเนินงานบรรลุเป้าหมาย และแผนการดำเนินงาน จะดำเนินการเมื่อไร
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานเทียบกับเป้าหมายการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานเทียบกับเป้าหมาย
การตรวจสอบคุณภาพข้อมูล(Data Quality Audit) โครงการมาลาเรีย รอบ SSF สำนักงานบริหารโครงการกองทุนโลก
วัตถุประสงค์ • เพื่อประกันคุณภาพข้อมูลรายงานผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดหลัก ให้มีความเที่ยงตรง ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ ลดความซ้ำซ้อน และทันต่อเวลา ทั้งในระดับของ SSRs, SRs และ PR • เพื่อประเมินศักยภาพและกระตุ้นให้ PR, SRs และ SSRs มีความตื่นตัวในการเตรียมระบบการบริหารจัดการข้อมูล ทั้งการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบเอกสาร การจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบโปรแกรม • เพื่อหนุนเสริมศักยภาพในการบริหารจัดการข้อมูลรายงาน ของ SRs และ SSRs ให้สอดคล้องกับข้อจำกัดของแต่ละหน่วยงาน • เพื่อสร้างแนวทางเดียวกันในการติดตามการตรวจวัดคุณภาพข้อมูลรายงานระดับพื้นที่ และพัฒนาแบบฟอร์มในการตรวจวัดคุณภาพข้อมูลรายงานให้สอดคล้องกับแนวทางที่กองทุนโลกกำหนด
รูปแบบในการตรวจสอบคุณภาพข้อมูลรูปแบบในการตรวจสอบคุณภาพข้อมูล • Onsite data verification (OSDV) • Data quality assessment (DQA) • Routine data quality assessment (RDQA)
Onsite Data Verification (OSDV) • เพื่อสร้างความเชื่อมั่นว่าข้อมูลผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดที่สำคัญนั้นถูกต้องและเชื่อถือได้ ทุกระดับ • เป็นการตรวจสอบคุณภาพข้อมูลโดย LFA • ดำเนินการปีละ 1 ครั้ง โดยจะดำเนินการในช่วงไตรมาสแรกของปีถัดไป • สุ่มเลือกตัวชี้วัด สุ่มเลือกพื้นที่ที่จะตรวจสอบ • ตรวจสอบข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ • หน่วยงานที่ได้รับการตรวจสอบคือ SR, SSR/IA • วิธีการตรวจสอบ • ยึดข้อมูลรายงานที่ SR ส่งรายงานให้ PR เพื่อนำส่ง GF เปรียบเทียบกับข้อมูลในแต่ละ SSR และพื้นที่
ผังการตรวจสอบคุณภาพข้อมูลผังการตรวจสอบคุณภาพข้อมูล GF Line of Report LFA/GF representative Line of DQA/OSDV PR 600,000 LLINs SMRU 5,000 LLINs BVBD 500,000 LLINs IOM 5,000 LLINs Tak 30,000 LLINs SSR2 SSR3 Data collection form Data collection form แบบฟอร์มการกระจายมุ้ง Data collection form SSR SSR SSR2 SSR SSR SSR1 Mae sot 2,500 LLINs IA IA IA IA IA IA IA IA
ผู้ดำเนินการและขั้นตอนการตรวจสอบคุณภาพข้อมูลผู้ดำเนินการและขั้นตอนการตรวจสอบคุณภาพข้อมูล ขั้นตอนการตรวจวัด ผู้ดำเนินการ 1. กำหนดระดับของการตรวจวัด LFA และ FPM 2. เลือกผลการดำเนินงาน (ตัวชี้วัด) 3. เลือกหน่วยงาน 4. เลือกพื้นที่และแหล่งของข้อมูลในการตรวจสอบ LFA 5. ดำเนินการตรวจสอบ 6. จัดทำรายงานต่อกองทุนโลก Thitima Puemkun
ขั้นตอนที่ 1 กำหนดระดับของการตรวจวัด ระดับของการตรวจวัดจะขึ้นอยู่กับ 2 ตัวแปร ขั้นตอนที่ 1 • ตัวแปรหลัก –ขนาดและความสำคัญของโครงการ ความเสี่ยงของข้อมูล การตรวจสอบอย่างละเอียด จะดำเนินการสำหรับโครงการที่สำคัญ ซึ่งจะรวมถึง • การสุ่มตัวอย่างเพื่อการตรวจสอบที่มากขึ้น (เช่น จำนวนพื้นที่ หรือเอกสารที่ต้องตรวจสอบ มากขึ้น) • การตรวจสอบอย่างละเอียด เอาจริงเอาจัง (เช่นการตรวจสอบการให้บริการในพื้นที่ หรือตรวจเยี่ยมผู้ได้รับผลประโยชน์จากโครงการ) • ตัวแปรรอง – ความยากลำบากในการตรวจสอบ กำหนดระดับของการตรวจวัด เลือกผลการดำเนินงาน (ตัวชี้วัด) เลือกหน่วยงาน เลือกพื้นที่และแหล่งของข้อมูลในการตรวจสอบ สูง โครงการที่สำคัญมาก ระดับการตรวจสอบจะสูงตามความสำคัญ ดำเนินการตรวจสอบ ความสำคัญ ต่ำ สูง ความซับซ้อน จัดทำรายงานต่อกองทุนโลก Thitima Puemkun หมายเหตุ การตรวจสอบสามารถปฏิบัติสำหรับหลายโครงการได้ในเวลาเดียวกัน
ขั้นตอนที่ 2 เลือกผลการดำเนินงาน (ตัวชี้วัด) ตัวชี้วัดได้ถูกไว้กำหนดล่วงหน้า หรือกำหนดเฉพาะแต่ละโครงการ ขั้นตอนที่ 2 • 1. ตัวชี้วัดได้ถูกกำหนดไว้ล่วงหน้า (กำหนดไว้เป็นมาตรฐาน) • ตัวชี้วัดที่ถูกำหนดให้ทำการตรวจสอบ ประกอบด้วย • ผู้ป่วยที่ได้รับรักษา ARV • การแจกจ่ายมุ้งชุบ หรือการชุบมุ้ง • จำนวนการทำ DOTS • 2ตัวชี้วัดที่กำหนดเฉพาะแต่ละโครงการ (จะทำการตรวจสอบเป็นกรณีไป) กำหนดระดับของการตรวจวัด เลือกผลการดำเนินงาน (ตัวชี้วัด) เลือกหน่วยงาน + เลือกพื้นที่และแหล่งของข้อมูลในการตรวจสอบ ดำเนินการตรวจสอบ หมายเหตุ โดยปกติ 1 ถึง 3 ตัวชี้วัดจะถูกเลือกเพื่อทำการตรวจวัดคุณภาพข้อมูลรายงาน จัดทำรายงานต่อกองทุนโลก
หลักเกณฑ์ในการเลือกตัวชี้วัดของแต่ละโครงการหลักเกณฑ์ในการเลือกตัวชี้วัดของแต่ละโครงการ • Over achieve target • Top ten indicators • ตัวชี้วัดสัมพันธ์กับ Health Product • ประเด็นสำคัญทั้งทางด้านการดำเนินงาน และการใช้จ่ายเงินทุนตามที่ระบุอยู่ในข้อเสนอโครงการ • ใช้งบประมาณจากหลายแหล่งในการดำเนินงาน • แบบฟอร์มการเก็บข้อมูลหรือระบบข้อมูลไม่ชัดเจน • มีการดำเนินงานหลายพื้นที่/หลายหน่วยงาน • เชื่อมกับตัวชี้วัดของประเทศ • มีผลกับ impact, outcome indicator
ขั้นตอนที่ 3 และ 4 เลือกพื้นที่และแหล่งข้อมูล ตัวชี้วัดได้ถูกไว้กำหนดล่วงหน้า หรือกำหนดเฉพาะแต่ละโครงการ ขั้นตอนที่ 3 และ 4 • เลือกพื้นที่หรือหน่วยงาน • การเลือกพื้นที่จะต้องเลือกพื้นที่ที่สำคัญที่สุดของแต่ละโครงการ (ทั้งในส่วนของการดำเนินงานและการใช้จ่ายของเงินทุน) • ในแต่ละภาค จังหวัด หรือพื้นที่ จุดให้บริการต่าง ๆ จะถูกสุ่มคัดเลือก ซึ่งจำนวนจะขึ้นอยู่กับขนาดของเงินทุนโครงการในแต่ละปี • จำนวนพื้นที่หรือหน่วยงานที่เลือก และการสุ่มเลือกอาจปรับเปลี่ยนได้ • ระยะเวลาและค่าใช้จ่ายในการตรวจเยี่ยมพื้นที่ อาจไม่คุ้มค่าหรือเหมาะสม • สถานการณ์ของแต่ละโครงการหรือการตัดสินใจของ FPM • เลือกแหล่งข้อมูลในการตรวจสอบ • กำหนดแหล่งข้อมูลพื้นฐาน แหล่งข้อมูลหลัก • การเข้าถึงเป้าหมาย – บันทึกการรักษา ทะเบียนผู้ป่วย เป็นต้น • การแจกจ่ายสินค้า (เช่นมุ้งชุบ ถุงยางอนามัย) – ทะเบียนคุมการแจกจ่าย ทะเบียนสินค้าคงเหลือ • การฝึกอบรม (training plan)– บันทึกผู้เข้าร่วมอบรม บันทึกการจ่ายเบื้ยเลี้ยง เป็นต้น • กำหนดแหล่งรายงานสรุปผลการดำเนินงาน ที่รวบรวมข้อมูลการดำเนินงาน (เช่น จุดให้บริการ จังหวัด ภาค หรือประเทศ) กำหนดระดับของการตรวจวัด เลือกผลการดำเนินงาน (ตัวชี้วัด) เลือกหน่วยงาน เลือกพื้นที่และแหล่งของข้อมูลในการตรวจสอบ ดำเนินการตรวจสอบ จัดทำรายงานต่อกองทุนโลก
ขั้นตอนที่ 5 ดำเนินการตรวจสอบ การดำเนินการตรวจสอบสามารถทำได้ 3 วิธี ขั้นตอนที่ 5 • 1 การตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้นไปถึงข้อมูลสรุปรายงาน (ทุกโครงการ) • ตรวจสอบความมีอยู่ของข้อมูลเบื้องต้น (ที่จุดให้บริการ) และรายงานสรุปผล (ระดับประเทศ หรือหน่วยงานบริหารที่ซึ่งข้อมูลได้ถูกรวบรวมเพื่อรายงาน) • ตรวจสอบความถูกต้องและหลักฐานการบันทึกของข้อมูล(เช่น บุคคลภายนอก ความเป็นไปได้ข้อมูลที่บันทึกได้ในแต่ละวัน) • ทำการรวบรวมข้อมูลเบื้องต้น และเปรียบเทียบกับข้อมูลในรายงานสรุป ณ ระดับประเทศ • 2 การตรวจสอบความสอดคล้องของข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ • ตรวจสอบค่าใช้จ่ายของช่วงระยะเวลาการรายงาน • ตรวจสอบบันทึกสินค้าคงคลังของช่วงระยะเวลาการรายงาน • อื่น ๆ • 3 การตรวจสอบ ณ จุดบริการ • สุ่มเลือกเป้าหมายผู้รับประโยชน์ของโครงการ และทำการสัมภาษณ์เพื่อตรวจสอบข้อมูล • ใบเสร็จรับเงินของสินค้าที่สั่งซื้อ เช่น มุ้งชุบสามารถตรวจสอบได้ที่คลังสินค้า กำหนดระดับของการตรวจวัด เลือกผลการดำเนินงาน (ตัวชี้วัด) เลือกหน่วยงาน เลือกพื้นที่และแหล่งของข้อมูลในการตรวจสอบ ดำเนินการตรวจสอบ จัดทำรายงานต่อกองทุนโลก
ขั้นตอนที่ 6 จัดทำรายงานเสนอต่อกองทุนโลก ผลของการตรวจวัดจะต้องสรุปเพื่อรายงานต่อกองทุนโลก ขั้นตอนที่ 6 • 1 การจัดระดับจากการตรวจวัด (ของแต่ละตัวชี้วัด) • ระดับ A ความคลาดเคลื่อนน้อยกว่า 10 เปอร์เซ็นต์ • ระดับ B1 ความคลาดเคลื่อนระหว่าง 10-20 เปอร์เซ็นต์ • ระดับ B2 ความคลาดเคลื่อนมากกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ • ระดับ C ไม่ระบบการรายงานข้อมูล • 2 ประเด็นสำคัญ และประเด็นไม่สำคัญ • ประเด็นความถูกต้องของข้อมูล (เช่นความคลาดเคลื่อนในขั้นตอนการรวบรวมข้อมูล หรือผลงาน) • ประเด็นความสมบูรณ์ของเอกสาร (เช่น ระดับของเอกสารที่สูญหาย และรายงานสรุปผล) • รายละเอียดของเอกสารสูญหาย หรือประเด็นคุณภาพของข้อมูล • ความขัดแย้งกันระหว่างการดำเนินงาน และค่าใช้จ่าย หรือบันทึกสินค้าคงเหลือ • ประเด็นจากการสัมภาษณ์เป้าหมายผู้รับประโยชน์จากโครงการ จากการตรวจเยี่ยม (ถ้ามี) • 3 ประเด็นการปฏิบัติตามนโยบาย หลักเกณฑ์ที่กำหนด หรือข้อแนะนำเพื่อการปรับปรุงในอนาคต (เพื่อแก้ไขประเด็นปัญหาจากการตรวจสอบ) กำหนดระดับของการตรวจวัด เลือกผลการดำเนินงาน (ตัวชี้วัด) เลือกหน่วยงาน เลือกพื้นที่และแหล่งของข้อมูลในการตรวจสอบ ดำเนินการตรวจสอบ จัดทำรายงานต่อกองทุนโลก
Data Quality Assessment (DQA) • เป็นการตรวจสอบคุณภาพข้อมูลโดยผู้แทนจากกองทุนโลก • การดำเนินการตามที่กองทุนโลกจะพิจารณาเลือก อาจไม่ใช่ทุกปี • วิธีดำเนินการคล้ายกับ OSDV • ตรวจสอบข้อมูลเชิงปริมาณ และการประเมินระบบการบริหารจัดการข้อมูล
Routine Data Quality Assessment (RDQA) • ตรวจสอบข้อมูลเชิงปริมาณโดยตัวเอง • ข้อมูลที่รายงานและข้อมูลในระบบมาลาเรียออนไลน์ต้องตรงกับเอกสารที่มีอยู่จริง • การบันทึกข้อมูลครบถ้วนทุกประเด็นตามแบบฟอร์ม • ความถูกต้องของข้อมูล • ความครบถ้วน สมบูรณ์ของข้อมูล • ความทันเวลาในการส่งรายงาน • ประเมินคุณภาพการบริหารจัดการระบบข้อมูล • โครงสร้างในการจัดการข้อมูล • ระบบการจัดการข้อมูล
ผังการตรวจสอบคุณภาพข้อมูลผังการตรวจสอบคุณภาพข้อมูล GF LFA/GF representative Line of Report Line of DQA/OSDV PR SR2 SR1 SR3 SSR1 SSR2 SSR3 Data collection form Data collection form Data collection form SSR SSR SSR2 SSR SSR SSR1 IA IA IA IA IA IA IA IA IA
ข้อแตกต่างระหว่าง OSDV, DQA, RDQA
ข้อแตกต่างระหว่าง OSDV, DQA, RDQA
ข้อแตกต่างระหว่าง OSDV, DQA, RDQA
การตรวจสอบคุณภาพข้อมูลด้วยตัวเอง(Routien Data Quality Assessment: RDQA)
ความสำคัญของการตรวจสอบคุณภาพข้อมูลด้วยตัวเองความสำคัญของการตรวจสอบคุณภาพข้อมูลด้วยตัวเอง • การรายงานข้อมูลผลการดำเนินงานไปยังกองทุนโลกมาจากแหล่งข้อมูลในแต่ละพื้นที่ • กองทุนโลกจะส่งผู้แทนลงตรวจสอบข้อมูลเพื่อประเมินคุณภาพข้อมูลรายงาน • เตรียมการก่อนมีการตรวจสอบข้อมูลจากกองทุนโลก • สามารถจัดการระบบข้อมูลให้เป็นระบบ ระเบียบ สามารถสืบค้นได้ทุกระดับ • ข้อมูลมีความน่าเชื่อถือ • เพื่อประเมินระบบการจัดการข้อมูล
หลักการตรวจสอบคุณภาพข้อมูลด้วยตัวเองหลักการตรวจสอบคุณภาพข้อมูลด้วยตัวเอง • ตรวจสอบคุณภาพข้อมูลรายงาน (Data Verification): ในเชิงปริมาณ (ตัวเลข) จากการตรวจนับเอกสาร/หลักฐานด้วยตนเองเทียบกับรายงานอีกครั้ง (Recounting reports results) สอบทานความมีอยู่จริงของเอกสาร/หลักฐาน (Available reports) ความทันต่อเวลาของการรายงาน (On time reports) และความครบถ้วนสมบูรณ์ของตัวแปรหลัก (Complete reports)
ลำดับการตรวจสอบจากข้อมูลเบื้องต้นสู่รายงานสรุปผลลำดับการตรวจสอบจากข้อมูลเบื้องต้นสู่รายงานสรุปผล ข้อมูลเบื้องต้น ข้อมูลเบื้องต้น ข้อมูลเบื้องต้น ข้อมูลเบื้องต้น ข้อมูลเบื้องต้น
ความถี่ในการตรวจสอบคุณภาพข้อมูลด้วยตัวเองความถี่ในการตรวจสอบคุณภาพข้อมูลด้วยตัวเอง • ดำเนินการทุกไตรมาส • ตรวจสอบอย่างน้อยไตรมาสละ 1 ตัวชี้วัด • ส่งรายงานผลการตรวจสอบคุณภาพข้อมูลด้วยตัวเองมาพร้อมกับรายงานรายไตรมาส • รายงานในรูปแบบเอกสาร • ไฟล์รายงานผลการตรวจสอบข้อมูลด้วยตนเอง • พิจารณาเรื่องตัวชี้วัดและพื้นที่จากหลักเกณฑ์
หลักเกณฑ์ในการเลือกตัวชี้วัดและพื้นที่ตรวจสอบหลักเกณฑ์ในการเลือกตัวชี้วัดและพื้นที่ตรวจสอบ • over achieve target • Top ten indicators • ใช้งบประมาณจากหลายแหล่งในการดำเนินงาน • แบบฟอร์มการเก็บข้อมูลหรือระบบข้อมูลไม่ชัดเจน • มีการดำเนินงานหลายพื้นที่/หลายหน่วยงาน • เชื่อมกับตัวชี้วัดของประเทศ • มีผลกับ impact, outcome indicator
ผลการตรวจสอบคุณภาพข้อมูลด้วยตัวเองผลการตรวจสอบคุณภาพข้อมูลด้วยตัวเอง
วิธีการกรอกแบบฟอร์มเชิงปริมาณวิธีการกรอกแบบฟอร์มเชิงปริมาณ ชื่อ-สกุล, หน่วยงาน, E-mail, เบอร์โทร กรอกชื่อกิจกรรม เช่น การเจาะเลือดหมู่ การตรวจเลือดการเยี่ยมบ้าน การให้ยา ACT การทำ DOT การประชุม/อบรม เรื่อง......... 6.กรอกข้อมูลที่ส่งรายงานมายัง SR 2. กิจกรรมนี้มีผลต่อการรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดหรือไม่ ตอบว่า ใช่ หรือ ไม่ใช่ หรือ บางส่วน 4.ใส่วันที่ทำกิจกรรมตาม แบบฟอร์มการเก็บข้อมูล 5.กรอกข้อมูลที่นับจากแบบฟอร์มการเก็บข้อมูล เช่น ใบ รว.1 แบบฟอร์ม BCC (กรณีแบบฟอร์มไม่ได้แยกกลุ่มไทย M1 M2 ให้ กรอกข้อมูลในช่อง “THAI” 3.จากข้อ 2 ถ้าตอบว่า “ใช่ หรือ ใช้เพียงบางส่วน” ให้ใส่ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง
แบบฟอร์มการตรวจสอบคุณภาพข้อมูลด้วยตัวเองแบบฟอร์มการตรวจสอบคุณภาพข้อมูลด้วยตัวเอง 3.อธิบายว่าใส่ข้อมูลถูกต้อง ตรงช่องหรือไม่ เพราะเหตุใด 4.อธิบายว่าในเอกสาร เช่น รว1. ใส่ข้อมูลครบถ้วนหรือไม่ เพราะเหตุใด 2.ใส่วันที่ทำกิจกรรมตาม แบบฟอร์มการเก็บข้อมูล กรอกชื่อกิจกรรม เช่น การเจาะเลือดหมู่ การตรวจเลือดการเยี่ยมบ้าน การให้ยา ACT การทำ DOT การประชุม/อบรม เรื่อง......... 5.อธิบายว่าส่งรายงานภายในเวลาที่กำหนด หรือไม่ เพราะเหตุผลใด
ฝึกปฏิบัติตรวจสอบคุณภาพข้อมูล(Data Quality Audit Practis) โครงการมาลาเรีย รอบ SSF สำนักงานบริหารโครงการกองทุนโลก
การแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติการแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ กลุ่มที่ 1-3 ฝึก RDQA ระดับหน่วยปฏิบัติงานในพื้นที่หรือหมู่บ้าน (IA) PA, M&E officer, VBDC Group 1-3 RDQA at Implement Agency Level PA, M&E officer, VBDC กลุ่มที่ 4-6 ฝึก RDQA ระดับหน่วยงาน SR/ SSR BVBD and IOM, PHO and ODPC, SMRU and Camp Group 4-6 RDQA at SR/SSR Level BVBD and IOM, PHO and ODPC, SMRU and Camp
แนวทางการประชุมกลุ่ม • ฝึกปฏิบัติตามแบบคำถามที่แจกให้แต่ละกลุ่ม • ใช้เวลาในการปรึกษาหารือกลุ่มละ 30 นาที • จะสุ่มตัวแทนในการนำเสนอกลุ่มละ 10 นาที ระดับหน่วยปฏิบัติงานในพื้นที่หรือหมู่บ้าน (IA) 2 กลุ่มๆละ Part 1 และ Part 2 ระดับหน่วยงาน SR/ SSR จำนวน 2 กลุ่มๆละ Part 1 และ Part 2
Part 1 Part I การตรวจสอบคุณภาพของข้อมูลในรายงาน(เชิงปริมาณ) ฝึกตรวจสอบตรวจสอบคุณภาพของข้อมูลในรายงาน(เชิงปริมาณ) วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน จากรายงานรายไตรมาส • วิเคราะห์ คำนวน บันทึก รายงาน วางแผนพัฒนาแก้ไข ทั้งระดับ IA และ SR/SSR จะทำข้อมูลและข้อคำถามชุดเดียวกัน
Part II การประเมินสมรรถนะของระบบการบริหารจัดการข้อมูลและระบบการรายงานข้อมูล ให้ปรึกษาหารือ สรุปรายละเอียดที่พบอะไรบ้าง ที่ท่านต้องบันทึกในการประเมินสมรรถนะของระบบการบริหารจัดการข้อมลระบบการรายงาน สรุปประเด็นตามหัวข้อ • I M&E Structure, Functions and Capabilities : Capabilities โครงสร้าง ภาระรับผิดชอบ และความสามารถในการกำกับดูแล • II. Indicator Definitions and Reporting Guidelines : คำนิยามตัวชี้วัด และแนวทางในการรายงานข้อมูล • III Data-collection and Reporting Forms / Tools : แบบฟอร์มและเครื่องมือการเก็บรวบรวมและการรายงานข้อมูล • IV. Data Management Processes : กระบวนการบริหารจัดการข้อมูล • V. Link with national reporting system: การเชื่อมโยงกับระบบของประเทศ
แบบฝึกหัดการตรวจสอบคุณภาพข้อมูลแบบฝึกหัดการตรวจสอบคุณภาพข้อมูล
ข้อมูลรายงานจำนวนผู้ได้รับการตรวจราย MP ไตรมาสที่ 1 จังหวัดพังงา
แบบฝึกหัดการตรวจสอบคุณภาพข้อมูล (ต่อ) ไทย = 12 M1 = 3 M2 = 1
แบบฝึกหัดการตรวจสอบคุณภาพข้อมูล (ต่อ) ไทย = 14 M1 = 9 M2 = 1
แบบฝึกหัดการตรวจสอบคุณภาพข้อมูลแบบฝึกหัดการตรวจสอบคุณภาพข้อมูล ไทย = 15 คน M1 = 9 คน M2 = 1 คน
แบบฟอร์มการตรวจสอบคุณภาพข้อมูลด้วยตัวเองแบบฟอร์มการตรวจสอบคุณภาพข้อมูลด้วยตัวเอง
การสาธิต การตรวจสอบคุณภาพข้อมูลด้วยตัวเอง (ต่อ) ข้อมูลรายงาน ตัวชี้วัดที่ 5 จำนวนคนไทย ต่างชาติ 1 และต่างชาติ 2ได้รับการเจาะเลือดหาเชื้อมาลาเรียด้วย RDT กาญ ฯ 1,688 ราย ราชบุรี 339 ราย จันทบุรี 0 ราย ศรีษะเกษ 43 ราย ชลบุรี 0 ราย สงขลา 369 ราย MPทับเหรียง 61 ราย ชุมพร 1,046 ราย สระแก้ว 0 ราย เชียงใหม่ 203 ราย สุราษ ฯ 234 ราย คนไทย 40 ราย ตราด 0 ราย สุรินทร์ 8 ราย MP ทับเหรียง 61 ราย MPสองแพรก 4 ราย PR รับรายงาน 16,852 ราย พังงา 134 ราย ตาก 7,333 ราย อุบล ฯ 196 ราย M1 21 ราย ประจวบ ฯ 269ราย เชียงราย 0 ราย M2 0 ราย พังงา 134 ราย บุรีรัมย์ 0 ราย MPถ้า 69 ราย เพชรบุรี 448 ราย กระบี่ 113 ราย แม่ฮ่องสอน 1,007ราย สุพรรณบุรี 58 ราย ระนอง 455 ราย ยะลา 2,220 ราย ระยอง 29 ราย นราธิวาส 660 ราย รวมทั้งหมด 16,582 ราย
การสาธิต การตรวจสอบคุณภาพข้อมูลด้วยตัวเอง (ต่อ) ข้อมูลรายงาน ตัวชี้วัดที่ 5 จำนวนคนไทย ต่างชาติ 1 และต่างชาติ 2ได้รับการเจาะเลือดหาเชื้อมาลาเรียด้วย RDT กาญ ฯ 1,688 ราย ราชบุรี 339 ราย จันทบุรี 0 ราย ศรีษะเกษ 43 ราย ชลบุรี 0 ราย สงขลา 369 ราย MPทับเหรียง 61 ราย ชุมพร 1,046 ราย สระแก้ว 0 ราย เชียงใหม่ 203 ราย สุราษ ฯ 234 ราย คนไทย 41 ราย ตราด 0 ราย สุรินทร์ 8 ราย MP ทับเหรียง 61 ราย MPสองแพรก 4 ราย PR รับรายงาน 16,852 ราย พังงา 134 ราย ตาก 7,333 ราย อุบล ฯ 196 ราย M1 21 ราย ประจวบ ฯ 269ราย เชียงราย 0 ราย M2 3 ราย พังงา 134 ราย บุรีรัมย์ 0 ราย MPถ้า 69 ราย เพชรบุรี 448 ราย กระบี่ 113 ราย แม่ฮ่องสอน 1,007ราย สุพรรณบุรี 58 ราย ระนอง 455 ราย ยะลา 2,220 ราย ระยอง 29 ราย นราธิวาส 660 ราย รวมทั้งหมด 16,582 ราย
เฉลยแบบประเมินความรู้ ความเข้าใจ RDQA • วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบคุณภาพข้อมูลคืออะไร • เพื่อให้ข้อมูลที่รายงานมีความน่าเชื่อถือ • เพื่อให้ข้อมูลที่รายงานตรงกับเอกสารที่มีอยู่จริง • เพื่อประเมินระบบการบริหารจัดการข้อมูล • ถูกทุกข้อ
เฉลยแบบประเมินความรู้ ความเข้าใจ RDQA (ต่อ) • การตรวจสอบคุณข้อมูลมีกี่แบบ • 1 แบบ • 2 แบบ • 3 แบบ • 4 แบบ
เฉลยแบบประเมินความรู้ ความเข้าใจ RDQA (ต่อ) • ข้อใดคือการตรวจสอบข้อมูลโดยผู้แทนจากกองทุนโลก • OSDV • DQA • RDQA • RSQV