90 likes | 334 Views
ต.สระคู. ต.ทุ่งหลวง. 2. 3. 1. 6. 4. 5. 7. เขตจังหวัดสุรินทร์. นิคมการเกษตรพืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน ข้าวหอมมะลิ จังหวัดร้อยเอ็ด. หน่วยงานเจ้าภาพ : สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม. 1. การบริหารจัดการสินค้าเกษตรครบวงจร. 1. 2. การเพิ่มศักยภาพการผลิต
E N D
ต.สระคู ต.ทุ่งหลวง 2 3 1 6 4 5 7 เขตจังหวัดสุรินทร์ นิคมการเกษตรพืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน ข้าวหอมมะลิจังหวัดร้อยเอ็ด หน่วยงานเจ้าภาพ : สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม 1
การบริหารจัดการสินค้าเกษตรครบวงจรการบริหารจัดการสินค้าเกษตรครบวงจร 1. • 2. การเพิ่มศักยภาพการผลิต • 2.1 ดิน วิเคราะห์ที่ดินรายแปลง ปรับปรุงบำรุงดินให้มีศักยภาพ • เพิ่มขึ้น 50% โดย • - ปลูกพืชตระกูลถั่ว - ไถกลบตอซัง • - ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก - น้ำหมักชีวภาพ • 2.2 น้ำ เพิ่มพื้นที่รับน้ำโดยการขุดลอกอ่างเก็บน้ำและหนองน้ำ • 2.3 โครงสร้างพื้นฐาน • - ขุดลอกอ่างเก็บน้ำฮ่องแฮ ปริมาณงาน 1,000,000 ลบ.ม. • - ขุดลอกลำห้วยสังข์ ปริมาณงาน 38,000 ลบ.ม. • - ขุดลอกร่องหมาอีขาว ปริมาณงาน 60,000 ลบ.ม. • - ขุดคลองซอยส่งน้ำริมถนนสายสุวรรณภูมิ – ท่าตูม • ปริมาณงาน 21,900 ลบ.ม. • 2.4 สร้างแกนนำเกษตรกรปรับลด 4 ความสิ้นเปลือง • 2.5 เทคโนโลยีการผลิต • - ใช้ปุ๋ยเคมีตามค่าการวิเคราะห์ดินเป็นรายแปลง • 2.6 แหล่งทุน • - จัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจเพื่อเข้าสู่แหล่งทุน ส.ป.ก. • วงเงิน 10,000,000 บาท 1. การสร้างพันธุ์ 1.1 พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 โดยนำเมล็ดพันธุ์จากศูนย์ข้าวชุมชน 1.2 แหล่งพันธุ์ ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวร้อยเอ็ด 1.3 จัดตั้งศูนย์ข้าวชุมชน 2 ศูนย์ ผลิตเมล็ดพันธุ์ดี 200ไร่/80 ตัน เพื่อสนับสนุนพื้นที่ปลูกข้าวได้ 3,500 ไร่ 3. การเพิ่มศักยภาพการตลาด 3.1ดำเนินงานร่วมกับบริษัทบางซื่อโรงสีไฟเจียเม้ง จำกัด 2
2. การพัฒนาบุคลากรด้านการเกษตร 3. องค์ประกอบระยะที่ 1(รองรับพื้นที่ 4,472 ไร่) 2. ด้านการผลิต - ศูนย์บริการเครื่องจักรกลชุมชน 1 แห่ง - โครงสร้างพื้นฐาน ขุดลอกอ่างเก็บน้ำฮ่องแฮ 1,000,000 ลบ.ม. ขุดลอกลำห้วยสังข์ 38,000 ลบ.ม. ขุดลอกร่องหมาอีขาว 60,000 ลบ.ม. ขุดคลองซอย 21,900 ลบ.ม. - สินเชื่อวิสาหกิจชุมชนวงเงิน 10 ล้านบาท 1 เกษตรกรแกนนำ - ศูนย์เรียนรู้ด้านข้าว 3. เจ้าหน้าที่และภาคีความร่วมมือ - รวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเข้าสู่แหล่งทุน 2. เกษตรกรตามโครงการ - การใช้ปุ๋ยอินทรีย์แทนปุ๋ยเคมีในนาข้าว - การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว - การปลูกข้าวครบวงจร - การใช้ปุ๋ยอินทรีย์แทนปุ๋ยเคมีในนาข้าว -ลด 4 ความสิ้นเปลืองในการผลิต 1. ด้านพันธุ์ – ศูนย์ข้าวชุมชน 2 ศูนย์ 3. ลานตากข้าว สหกรณ์การเกษตร ปฏิรูปที่ดิน สุวรรณภูมิ 3 ขนาด 3,000 ตารางเมตร รองรับผลผลิตได้ คราวละไม่เกิน 60 ตัน 4. ประโยชน์ที่จะได้รับ ระยะที่ 1 (พื้นที่ 4,472 ไร่) 3
ผลการดำเนินการนิคมการเกษตรพืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน ข้าวหอมมะลิจังหวัดร้อยเอ็ด 1 การสร้างพันธุ์ 1.1 จัดตั้งศูนย์ข้าวชุมชน 2 ศูนย์ 1.ศูนย์ข้าวชุมชนบ้านสังข์ใหญ่ สมาชิก 20 ราย 200 ไร่ 2.ศูนย์ข้าวชุมชนบ้านโนนม่วง สมาชิก 20 ราย 200 ไร่ 1.2 การใช้เมล็ดพันธุ์ - จากศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวร้อยเอ็ด จำนวน 23 ราย 9.925ตัน - จากศูนย์ข้าวชุมชน จำนวน 44 ราย 15.380ตัน - เก็บไว้เอง จำนวน 83 ราย 24.269ตัน - สหกรณ์/ ธกส. / ร้านค้า จำนวน 101 ราย 61.586ตัน 4
ผลการดำเนินการนิคมการเกษตรพืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน ข้าวหอมมะลิจังหวัดร้อยเอ็ด 2. การเพิ่มศักยภาพการผลิต • 2.1 ดิน • - ไถกลบตอซัง • โดยกรมส่งเสริมการเกษตร จำนวน 2,173.25 ไร่ 127 ราย • ส.ป.ก. สนับสนุนงบประมาณ ไร่ละ 350 บาท เกษตรกรสมทบค่าใช้จ่าย ไร่ละ 100 บาท • - การปรับโครงสร้างดิน • สถานีพัฒนาที่ดินร้อยเอ็ด จัดฝึกอบรมเกษตรกร 162 ราย พื้นที่ 2,827 ไร่ • โดย ส.ป.ก.ร้อยเอ็ดสนับสนุนค่าใช้จ่ายไร่ละ 150 บาท • - ปุ๋ยพืชสด • สถานีพัฒนาที่ดินร้อยเอ็ด สนับสนุนเมล็ดพันธุ์ถั่วพุ่ม 40 ตัน แจกจ่ายแล้ว 28 ตัน 152 ราย • ส.ป.ก. สนับสนุนเมล็ดพันธุ์ 4 ตัน • - โดโลไมด์ • สถานีพัฒนาที่ดินสนับสนุนโดโลไมด์ 85 ราย 8.5 ตัน • - การตรวจวิเคราะห์ดิน • สถานีพัฒนาที่ดินดำเนินการตรวจ 177 ราย • ส.ป.ก. ดำเนินการตรวจ 14 ราย โดยใช้เครื่องมือตรวจสอบชุดดิน ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • (เป็นชุดดินทุ่งกุลา N = ต่ำมาก, P = ต่ำ, K = ต่ำ pH ประมาณ 6.0 – 7.0 ) 5
ผลการดำเนินการนิคมการเกษตรพืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน ข้าวหอมมะลิจังหวัดร้อยเอ็ด สำรวจและขุดลอกร่องหมาอีขาว 60,000 ลบ.ม. งบประมาณ 1,450,000 บาท 3. การพัฒนาแหล่งน้ำ สำรวจและขุดคลองซอยส่งน้ำริมถนนสายสุวรรณภูมิ-ท่าตูม 21,900 ลบ.ม. งบประมาณ 44,300 บาท ก่อสร้างอาคารระบายน้ำและ ขุดลอกอ่าง เก็บน้ำฮ่องแฮ 14,000,000 ลบ.ม. อาคารระบายน้ำ 1 หลัง โดยกรมชลประทาน งบประมาณรวม 30 ล้านบาท เทศบาลตำบลทุ่งกุลา สมทบงบประมาณขุดลอกเพิ่มเติมอีกสมทบ 753,570 บาท สำรวจและขุดลอกลำห้วยสังข์ 38,000 ลบ.ม. งบประมาณ 728,000 บาท 6
ผลการดำเนินการนิคมการเกษตรพืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน ข้าวหอมมะลิจังหวัดร้อยเอ็ด 4. การพัฒนาบุคลากร 4.1 สร้างศูนย์เพิ่มศักยภาพการใช้ที่ดินชุมชน จำนวน 12 ศูนย์ 4.2 จัดเวทีภาคประชาชน 6 ครั้ง ครั้งที่ 1 ประชาสัมพันธ์ชี้แจงโครงการนิคมการเกษตร ครั้งที่ 2 การปรับลดความสิ้นเปลืองและไถกลบตอซัง ครั้งที่ 3 เสวนาการปรับโครงสร้างดิน โดยการไถกลบตอซัง ครั้งที่ 4 การพัฒนาองค์ความรู้การปรับโครงสร้างดิน ครั้งที่ 5 การใช้ปุ๋ยและเพิ่มธาตุอาหารในนาข้าว ครั้งที่ 6 การลดต้นทุนการผลิตข้าว และการแก้ปัญหาวัชพืช 4.3 ร่วมกับมหาวิทยาลัยขอนแก่น - เกษตรกรศูนย์เรียนรู้ศึกษาดูงาน นิคมการเกษตรข้าว จ.ฉะเชิงเทรา - เกษตรกรศูนย์เรียนรู้ศึกษาดูงาน การผลิตข้าวอินทรีย์ จ.ยโสธร - เกษตรกรศูนย์เรียนรู้ศึกษาดูงาน การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว ณ ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวร้อยเอ็ด 7
ผลการดำเนินการนิคมการเกษตรพืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน ข้าวหอมมะลิจังหวัดร้อยเอ็ด 9. งานก่อสร้างอาคารและจัดซื้อเครื่องสูบน้ำ • ก่อสร้างอาคารเรียนรู้ 1 หลัง 290,000 บาท • ก่อสร้างอาคารแปรรูป 1 หลัง 610,000 บาท • - จัดซื้อเครื่องสูบน้ำ เพื่อสูบน้ำส่งเข้าคลองซอย 2 เครื่อง ราคา 190,000 บาท • ขนาด 6*6 นิ้ว สามารถสูบน้ำได้ 3,800 ลิตร/นาที 8
แผนการปฏิบัติงาน : เวทีภาคเกษตรกรร่วมโครงการ หน่วยงานรับผิดชอบ เรื่อง • การผลิตข้าวให้ได้มาตรฐาน GAP กรมการข้าว • การเลี้ยงโคและการผลิตปุ๋ย กรมปศุสัตว์ • การดูแลรักษาการควบคุมวัชพืช โรค และแมลงศัตรูข้าว กรมส่งเสริมการเกษตร • การจัดทำบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ • การเก็บเกี่ยวและลดความชื้นข้าวเปลือก กรมการข้าว • การตลาด สหกรณ์+บริษัทเจียเม้ง • ติดตามและประเมินผล มหาวิทยาลัยขอนแก่น 9