1 / 51

หน่วยความจำรองทั่วๆไป

หน่วยความจำรองทั่วๆไป. อ.อรรถพร จูทิม โปรแกรมวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. สื่อบันทึกภายนอก. Floppy Disk และ Diskette ความจุสูง แหล่งเก็บข้อมูลที่ใช้เทคโนโลยีด้านแสง (optical) CD-ROM DVD CD-R CD-RW อุปกรณ์เก็บข้อมูลอื่นที่นิยมใช้กัน เช่น zip และ Jaz.

imani-downs
Download Presentation

หน่วยความจำรองทั่วๆไป

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หน่วยความจำรองทั่วๆไปหน่วยความจำรองทั่วๆไป อ.อรรถพร จูทิม โปรแกรมวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

  2. สื่อบันทึกภายนอก • Floppy Disk และ Diskette ความจุสูง • แหล่งเก็บข้อมูลที่ใช้เทคโนโลยีด้านแสง (optical) • CD-ROM • DVD • CD-R • CD-RW • อุปกรณ์เก็บข้อมูลอื่นที่นิยมใช้กันเช่น zip และ Jaz

  3. สื่อบันทึกภายนอก • Floppy Disk เป็นสื่อที่มีการใช้งานนานนับสิบปี ตั้งแต่ยุคก่อนยุค pc เริ่มจากขนาด 8 นิ้ว 5.25 นิ้ว และ 3.5 นิ้ว และ มีหลากหลายความจุ เริ่มตั้งแต่ ไม่กี่ร้อย กิโลไบต์ เป็น 144 เมกะไบต์ 2.88 เมกะไบต์

  4. สื่อบันทึกภายนอก • Floppy Disk เป็นสื่อที่มีการใช้งานนานนับสิบปี ตั้งแต่ยุคก่อนยุค pc เริ่มจากขนาด 8 นิ้ว 5.25 นิ้ว และ 3.5 นิ้ว และ มีหลากหลายความจุ เริ่มตั้งแต่ ไม่กี่ร้อย กิโลไบต์ เป็น 1.44 เมกะไบต์ 2.88 เมกะไบต์

  5. สื่อบันทึกภายนอก • Floppy Disk (ส่วนประกอบ) - mylar เป็นแผ่นพลาสติกสังเคราะห์ - หัวอ่านจะสัมผัสกับแผ่น mylar - stepping motor

  6. สื่อบันทึกภายนอก

  7. สื่อบันทึกภายนอก เมื่อเกิดการอ่านขึ้นจะมีการส่งข้อมูลไปให้ Controller ในการทำงานจากนั้น จึงมีการลำเลียงไปให้ CPU โดยเป็นการเชื่อมต่อแบบ DMA (Direct memory Access)

  8. สื่อบันทึกภายนอก อดีต Controller จะเป็น card ที่เสียบเข้ากับ main board แต่ในปัจจุบันได้ รวม Controller ไว้ใน main board เรียบร้อยแล้ว ซึ่งทำให้เกิดความสะดวกในการใช้งานเพิ่มมากขึ้นเพราะไม่ต้องห่วงเรื่องของ Card Controller อีกต่อไป

  9. สื่อบันทึกภายนอก Floppy Disk มีอัตรา Transfer rate อยู่ที่ 0.5 – 1 MB/S และ มีอัตรา Track to Track Seek อยู่ที่ 66-200 /ms ที่มุมด้านหนึ่งจะส่วนที่เรียกว่า Write protect เพื่อป้องกันการเขียนลงบนแผ่น และ ใช้ จำนวน track ทั้งหมด 80 track และมีจำนวน sector ทั้งหมด 2,880 หรือ 5,760sector

  10. สื่อบันทึกภายนอก

  11. สื่อบันทึกภายนอก Super Disk (Floptical Disk) เป็นสื่อบันทึกที่พัฒนาต่อเนื่องมาจาก Floppy Disk แต่มีความจุสูงมากขึ้นแต่ลักษณะภายนอกเหมือนกัน และยังสามารถอ่าน เขียน แผ่น Floppy Disk ขนาด ธรรมดาได้ โดยตัวมันเองสามารถบันทึกได้ถึง 120 MB

  12. สื่อบันทึกภายนอก Super Disk (Floptical Disk) ลักษณะการอ่านของ Super Disk คือ ใช้กลไก ที่เรียกว่า Optical Servo ซึ่งทำให้มีความระเอียดในการวางแทรคที่เพิ่มมากขึ้น และ การอ่านที่ มีความระเอียดมากขึ้น

  13. สื่อบันทึกภายนอก Super Disk (Floptical Disk) โดยการวางแทรคนั้นสามารถวางแทรคได้ถึง 1,736 แทรค และ มีจำนวน เซกเตอร์ ได้มากถึง 245,760 245,760 X 0.5 KB = 60 MB/หน้า

  14. สื่อบันทึกภายนอก Super Disk (Floptical Disk) โดยทั่วไป มีอัตราการหมุนอยู่ที่ความเร็ว 720 rpm และมีอัตราการส่งข้อมูลประมาณ 3.2-5.4 MB/s

  15. Super Disk (Floptical Disk)

  16. สื่อบันทึกภายนอก Zip มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกับ Super Disk โดยลักษณะที่แตกต่างกันคือ Zip จะใช้ SCSI หรือ แบบ parallel หรือ USB ทางด้านความจุ ในปัจจุบันมีความจุ ประมาณ 250 MB

  17. สื่อบันทึกภายนอก Zip

  18. สื่อบันทึกภายนอก Jaz ของ IOmega มีลักษณะเหมือนฮาร์ดดิกส์ต่อได้ ซึ่งมีความจุขั้นต่ำสุด คือ 1 GB การ ติดตั้งเป็นแบบ SCSI เท่านั้นซึ่งจำเป็นต้องมี Card รองรับ ดังนั้นสื่อบันทึกชนิดนี้จึง นิยมใช้สำหรับ backup ข้อมูล

  19. สื่อบันทึกภายนอก Jaz ของ IOmega

  20. สื่อบันทึกภายนอก อุปกรณ์การบันทึกและอ่านข้อมูลด้วยแสง • สื่อบันทึกที่อยู่ในกลุ่มนี้คือ • CD-ROM • DVD • CD-R • CD-RW • Optical disk

  21. สื่อบันทึกภายนอก อุปกรณ์ในกลุ่มนี้ สามารถอ่านขึ้นมาด้วยแสงเลเซอร์ ลำแสงขนาดจิ๋วจากตัวกำเนิดแสง เรียก laser diode จะส่องผ่านเลนส์รวมแสงไปตกกระทบแผ่นจานที่หมุนอยู่ ไม่ว่าจะเป็น CD-ROM หรือ Otpical Disk ลำแสงจะตกลงร่องที่เป็นก้นหอยจากในสุดจนถึงนอกสุด ต่อเนื่องเป็นเส้นเดียว แตกต่างจากจานแม่เหล็ก

  22. สื่อบันทึกภายนอก ลำแสงที่สะท้อนออกมาจากจานหมุนดังกล่าว จะมีคุณสมบัติต่างจากเดิม ทำให้สามารถตรวจสอบได้ ว่าสะท้อนมาจากจุดที่บันทึกข้อมูลไว้ว่าเป็น 0 หรือ 1 ซึ่งตรวจจากความเข้มของแสง หรือ มุมของแสง

  23. สื่อบันทึกภายนอก

  24. สื่อบันทึกภายนอก CD-ROM (Compact Disc ROM) มีลักษณะเป็นอุปกรณ์กึ่ง direct access ความเร็วในการเข้าถึง Seek time จะอยู่ประมาณ 150-250 ms Transfer rate จะมีได้หลายค่า ขึ้นอยู่กับความเร็วในการหมุน

  25. สื่อบันทึกภายนอก CD-ROM (Compact Disc ROM) 1X (single speed)อัตราการส่งข้อมูล 150 KB/s 2X (double speed)อัตราการส่งข้อมูล 300 KB/s 3X (triple speed)อัตราการส่งข้อมูล 450 KB/s 4X (quad speed)อัตราการส่งข้อมูล 600 KB/s 8X อัตราการส่งข้อมูล 1200 KB/s 10-50Xอัตราการส่งข้อมูล 1500-7500 KB/s

  26. CD-ROM (Compact Disc ROM)

  27. สื่อบันทึกภายนอก โครงสร้างการเก็บข้อมูล ในปัจจุบัน CD-ROM ความเร็วสูงๆ จะมีอัตราความเร็วในการหมุนคงที่ (Constant Angular Velocity : CAV) โดยทั่วๆไป ความจุจะอยู่ที่ 650 -700 MB

  28. สื่อบันทึกภายนอก โครงสร้างการเก็บข้อมูล

  29. สื่อบันทึกภายนอก โครงสร้างการเก็บข้อมูล ตรงกลางของแผ่น CD-ROM จะเป็นรูขนาด 15 มม และถัดออกมาอีก 4 มม เรียก lead-in ใช้เก็บ VTOC (Volume Table of Content) ถัดมาอีก 33 มม เป็นส่วนที่ใช้เก็บข้อมูลโดยเป็นวงก้นหอย จนถึงขอบนอก 4 มม เป็นส่วนบ่งบอกการสิ้นสุดส่วนบันทึกข้อมูล

  30. สื่อบันทึกภายนอก CD-R , CD-RW โดยทั่วไป CD-ROM จะอ่านได้อย่างเดียวเท่านั้น ต่อมาได้พัฒนาให้สามารถบันทึกข้อมูลแต่ห้ามทับของเดิมและสามารถเพิ่มให้ได้จนเต็มแผ่น เรียกแผ่นลักษณะนี้ว่า CD-R (CD Recordable) ต่อมามีการพัฒนาเรียกว่า CD-RW (CD Rewritable) ซึ่งสามารถลบเขียนได้ใหม่ถึง 1000 ครั้ง

  31. CD-R , CD-RW

  32. สื่อบันทึกภายนอก การบันทึกข้อมูลใน CD-R ในการบันทึกแต่ละครั้ง เรียก Session ซึ่งสามารถทำได้หลายครั้งโดยข้อมูลจะเรียงต่อกันไปเรื่อยๆจนหมดแผ่นแต่ในการบันทึกในแต่ละ Session ที่เกิดขึ้นจะสูญเสียเนื้อที่ประมาณ 20 MB เสมอ

  33. สื่อบันทึกภายนอก DVD (Digital Video Disc หรือ Digital Versatile Disk) มีลักษณะคล้ายแผ่น ซีดี ทุกอย่าง แต่มีความจุสูงมากกว่าซึ่งแผ่นซีดีธรรมดาจะมีความจุ 650 -800 MB/ด้านเท่านั้นแต่ แผ่น DVD มีความจุต่อด้าน 4.7 GB/ด้าน

  34. สื่อบันทึกภายนอก DVD (Digital Video Disc หรือ Digital Versatile Disk)

  35. สื่อบันทึกภายนอก การบันทึกข้อมูลใน DVD การบันทึกใน DVD จะเป็นการบันทึกที่เหมือนกับ แผ่น ซีดี ทั่วไป แต่แตกต่างตรงที่ ใน ส่วน ที่เกิดจากการบันทึกข้อมูลนั้น จะมีความระเอียดมากกว่า

  36. สื่อบันทึกภายนอก การบันทึกข้อมูลใน DVD

  37. สื่อบันทึกภายนอก การบันทึกข้อมูลใน DVD นอกจากนี้การบันทึกยังสามารถบันทึกข้อมูลได้ถึง 2 ชั้น ในหน้าเดียวแตกต่างจากแผ่น ซีดี ปกติ ที่ ทำการบันทึกได้แค่ชั้นเดียวต่อหน้า ทำให้แผ่น DVD มีการบันจุข้อมูลเพิ่มขึ้นได้อีก เป็น 2 เท่า และ เกิด ฟอร์เมตต่างๆขึ้นมา

  38. สื่อบันทึกภายนอก ลักษณะการบันทึกข้อมูลใน DVD

  39. สื่อบันทึกภายนอก ลักษณะการบันทึกข้อมูลใน DVD

  40. สื่อบันทึกภายนอก การอ่านข้อมูล ความเร็วในการอ่านข้อมูลของ DVD จะเก็บข้อมูลหนาแน่นกว่า CD-ROM จึงไม่สามารถหมุนได้เร็วแต่เนื่องจากมีความหนาแน่นของข้อมูลมากกว่า ในความเร็วรอบที่เท่ากัน DVD จะมีอัตราส่งผ่านข้อมูลได้มากกว่า

  41. สื่อบันทึกภายนอก การอ่านข้อมูล โดยทั่วไปจะมีอัตราการการอ่านข้อมูลสูงถึง 2000KB/s มีการเข้ารหัส แบบ MPEG-2 ซึ่งทำให้มีความคมชัดมากกว่า VCD ธรรมดาซึ่งเข้ารหัส แบบ MPEG-1 เท่านั้น จึงทำให้ได้คุณภาพที่ต่ำกว่า

  42. สื่อบันทึกภายนอก ลักษณะการบันทึกข้อมูลใน DVD

  43. สื่อบันทึกภายนอก Format ทั้งหมด ของ DVD DVDเป็นคำกลางไม่จำเพาะเจาะจงมีลักษณะเหมือนแผ่น CD ความจุ 4.7 – 17 GB DVD-ROM `อ่านได้อย่างเดียวความจุ 4.7 – 17 GB และ Compatible กับ CD-ROM Drive ทั่วไป DVD-Rแบบบันทึกได้ครั้งเดียว

  44. สื่อบันทึกภายนอก Format ทั้งหมด ของ DVD DVD-RAMแบบบันทึกซ้ำได้หลายครั้งแต่มีปัญหาความเข้ากันได้กับ DVD ปกติ มีความจุ ด้านล่ะ 2.6 GB/ด้าน เท่านั้น DVD+RWแบบบันทึกซ้ำได้หลายครั้งซึ่งแยกตัวมากจาก DVD-RAM โดยกลุ่ม HP ,Philips ,Sony เป็นคู่แข่งของ DVD-RAM

  45. สื่อบันทึกภายนอก Format ทั้งหมด ของ DVD DVD-Videoใช้สำหรับบันทึกภาพยนตร์ โดยมีการเข้ารหัสป้องกันการ copy เรียก CSS (Content Scrambling System) DVD-Audioใช้สำหรับบันทึกเสียงแต่มีความจุสูงมากจึงสามารถใส่ลักษณะพิเศษลงไปได้อีกเช่น ระบบเสียงรอบทิศทาง

  46. สื่อบันทึกภายนอก Optical Disk (Magneto Optical Disk :MO-disk) เป็นเทคโนโลยีการเก็บข้อมูลด้วยแสงและสนามแม่เหล็ก บนแผ่น ที่ใช้บันทึกข้อมูล MO-disk นั้น จะฉาบด้วยสารที่สะท้อนแสงและมีคุณสมบัติ แม่เหล็กอยู่ด้วย

  47. สื่อบันทึกภายนอก การอ่าน/บันทึก ข้อมูล สนามแม่เหล็ก ที่อยู่บนแผ่นบันทึกนั้นมีความแรงของสนามแม่เหล็กหลายเท่าจึงไม่สามารถใช้หัวอ่านธรรมดาไปทำให้สนามแม่เหล็กบนแผ่นบันทึกเรียงตัวใหม่ได้

  48. สื่อบันทึกภายนอก การอ่าน/บันทึก ข้อมูล ดังนั้นจึงจำเป็นต้องสลายสนามแม่เหล็กแรงสูงเหล่านี้ก่อนจึงจะทำการลบ หรือ บันทึกข้อมูลได้ จึงได้นำลำแสงเลเซอร์ มายิง ณ จุด ที่ต้องการ เพื่อให้เกิดความร้อนสูง ณ จุดยิง ทำให้สนามแม่เหล็ก บริเวณนั้นอ่อนตัวลง ณ ตำแหน่งที่ยิงนั้น อุณหภูมิ ประมาณ 200-300 องศา เรียก Curie temperature

  49. สื่อบันทึกภายนอก การอ่าน/บันทึก ข้อมูล เมื่อยิง ณ ตำแหน่งที่ต้องการแล้ว เมื่ออุณหภูมิ ลดลง แล้ว สนามแม่เหล็ก ณ ตำแหน่งที่โดน ยิง ก็ จะกลับสภาพ เป็น สนามแม่เหล็ก แรงสูงได้เหมือนเดิม ส่วนการอ่าน จะใช้แสงเลเซอร์ยิงเหมือนเดิมแต่กำลังอ่อนกว่า ยิงไปถูกสื่อบันทึกแสงที่สะท้อนขึ้นมาจะนำไปแปลความเรียกขบวนการนี้ว่า Kerr effect

More Related