1 / 17

จุลชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับอาหาร

จุลชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับอาหาร. จุลินทรีย์ที่เกี่ยวข้องกับอาหารที่เรากินได้หลายทาง ซึ่งมักจะมีผลต่อคุณภาพของอาหาร ด้วย อาหารต่างๆเป็นอาหารแหล่งที่อยู่อันอุดมสมบูรณ์ของจุลินทรีย์ และมันทำให้อาหารเกิดการ

ima
Download Presentation

จุลชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับอาหาร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. จุลชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับอาหารจุลชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับอาหาร จุลินทรีย์ที่เกี่ยวข้องกับอาหารที่เรากินได้หลายทาง ซึ่งมักจะมีผลต่อคุณภาพของอาหาร ด้วย อาหารต่างๆเป็นอาหารแหล่งที่อยู่อันอุดมสมบูรณ์ของจุลินทรีย์ และมันทำให้อาหารเกิดการ เน่าเสีย อาหารที่มีจุลินทรีย์อยู่ยังเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคไปแล้ว จุลินทรีย์บางชนิดที่อยู่ในอาหารยัง สร้างสารพิษได้ แต่จุลินทรีย์บางชนิดก็ช่วยรักษา ( preserve) อาหารได้ เช่นผลิตภัณฑ์โยเกิร์ต ( yogurt ) จุลินทรีย์ในอาหารสดและการเน่าเสียของอาหารเนื่องจากจุลินทรีย์ พิวตริแฟคชัน ( putrefaction ) เป็นการย่อยสลายโปรตีนในสภาพไม่มีออกซิเจนให้เป็น กรดอะมิโน เอมีน แอมโมเนีย และไฮโดรเจนซัลไฟด์

  2. ชนิดของการเน่าเสียของอาหารชนิดต่างๆ และจุลินทรีย์ที่เป็นสาเหตุ

  3. หอยและปลา จุลินทรีย์ที่พบในสัตว์น้ำพวกหอย ปลา และอื่นๆ เป็นดัชนีแสดงถึงคุณภาพทางจุลชีว- วิทยาของแหล่งน้ำ สัตว์ที่จับมาจากแหล่งน้ำที่เน่าเสียจะมีเชื้อโรค เช่น Vibrio parahaemolyticus ติดมาด้วยเมื่อนำมาบริโภคดิบๆ ให้เกิดการระบาดโรคทางเดินอาหาร เชื้อชนิดนี้กว้างขวางและพบ ปะปนอยู่กับปลา หอย กุ้ง ปู ต่างๆ หอยที่เติบโตในแหล่งน้ำเสียจะสะสมไวรัสไว้และเป็นแหล่งของ เชื้อโรคตับอักเสบ จุลินทรีย์ยังทำให้เกิดการเน่าเสียกับปลา จุลินทรีย์ที่พบในปลาส่วนใหญ่เป็นแบคทีเรีย ได้แก่ Achromobacter, Pseudomonas, Micrococcusหอยนางรมจะลดลงเพราะแบคทีเรียถูกขับ ออกจากเหงือก เมื่อน้ำสะอาดไหลผ่านเข้าออกที่เหงือก นม จุลินทรีที่พบในนมแบ่งเป็นกลุ่มด้วยปัจจัยต่างๆ ดังนี้ 1. ปฏิกิริยาชีวเคมี 2. อุณหภูมิ 3. ความสามารถในการก่อโรค

  4. การเปลี่ยนแปลงที่ได้กรดแล็กติกเป็นส่วนใหญ่โดยไม่มีการย่อยโปรตีนไขมันที่ทำให้ การเปลี่ยนแปลงที่ได้กรดแล็กติกเป็นส่วนใหญ่โดยไม่มีการย่อยโปรตีนไขมันที่ทำให้ นมมีรสเปรี้ยวอย่างเดียว จุลินทรีย์อื่นๆ ทำให้น้ำนมเกิดการเปลี่ยนแปลงด้วยปฏิกิริยาชีวเคมีต่างๆ ดังนี้ 1. การเฟอร์เม้นต์ที่กรด 1.1 เชื้อสเตรปโตค็อกไค ( Streptococci ) เชื้อสเตรปโตค็อกไค คือSreptococci lactis, S.cremorisทำให้นมเปรี้ยวโดยเฟอร์ เมนต์น้ำตาลแล็กโทสให้เป็นกรดแล็กติก 1.2 เชื้อแล็กโตบาซิลไล (Lactobacilli ) เชื้อแล็กโตบาซิลไลที่ทำให้นมเปรี้ยวและเกิดก๊าซทั้งพวกโฮโมเฟอร์เม้นต์เตตีฟ เช่น Lactobacillus casei 1.3 เชื้อไมโครแบคที่เรียม (Microbacterium) เชื้อไมโครแบคที่เรียมที่สามารถเฟอร์เม้นต์น้ำตาลแล็กโทสในนมให้เป็นกรดส่วนมาก กรดแล็กติก 1.4 เชื้อไมโครค็อกคัส (Microococcus) 1.5 โคลิฟอร์มแบคทีเรีย (Coliform bacteria )

  5. 2. การเฟอร์เม้นต์ที่ได้ก๊าซ โคลิฟอร์มแบคทีเรีย เฟอร์เม้นต์น้ำตาลแล็กโทสได้กาซคาร์บอนไดออกไซด์และ ไฮโดรเจน 3. การเกิดเมือก (ropy) ในนม เมือกในนมเกิดจากจุลินทรีย์ที่สร้างแคปซูลได้ 4. การย่อยสลายโปรตีนในนม (proteolysis) และการเกิดตะกอน (sweet curding) เกิดจากกรดแล้วยังอาจเกิดจากน้ำย่อยเรนนิน (rennin) 5. การย่อยสลายไขมันในนม (lipolysis) จุลินทรีย์ที่ย่อยสลายไขมัน ได้แก่ pseudomonas fluorescens 6. การเกิดกลิ่น รส และสีเปลี่ยนไป ผลจากกระบวนการแมแทบอลิซึมของจุลินทรีย์ทำให้เกิดกลิ่นและรสในน้ำนม

  6. การเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีของน้ำนมที่เกิดจากจุลินทรีย์การเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีของน้ำนมที่เกิดจากจุลินทรีย์

  7. การแบ่งกลุ่มจุลินทรีย์ในน้ำนมตามอุณหภูมิการแบ่งกลุ่มจุลินทรีย์ในน้ำนมตามอุณหภูมิ จุลินทรีย์ในน้ำนมแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ไซโครไฟล์ เป็นจุลินทรีย์ที่เจริญได้ที่ 0 องศาเซลเซียสหรือต่ำกว่า มีโซไฟล์ เป็นจุลินทรีย์ที่เจริญที่อุณหภูมิปานกลาง เทอร์โมไฟล์ เป็นจุลินทรีย์ที่เจริญที่อุณหภูมิสูง เทอร์โมดูริก เป็นจุลินทรีย์ที่ทนต่ออุณหภูมิสูงได้ อุณหภูมิในการเก็บรักษาน้ำนม น้ำนมี่ผ่านกระบวนการพาสเจอร์ไรเซซัน คือ ที่อุหภูมิ 62.8 องศาเซลเซียส 30 นาที แล้ว จะสามารถเก็บไว้ในตู้เย็นได้หลายสัปดาห์หรือนากว่านั้น แต่ถ้าถูกจุลินทรีย์ทำลายจะเกิด กลิ่น “ off flaver “

  8. การแบ่งกลุ่มจุลินทรีย์ตามความสามรถในการก่อโรคการแบ่งกลุ่มจุลินทรีย์ตามความสามรถในการก่อโรค 1. จุลินทรีย์ที่เป็นเชื้อโรคในวัวที่ติดต่อมาสู่คนหรือวัวตัวอื่น เช่น โรควัณโรค (brucellosis) เต้านมอักเสบ (mastitus) 2. จุลินทรีย์ที่เป็นเชื้อโรคในคนที่แพร่ไปโดยอาศัยน้ำนม เช่น ไทฟอยด์ (typoid) บิด (dysentery) การเน่าเสียของอาหารกระป๋อง การเน่าเสียที่พบบ่อยและสัญ ได้แก่ 1. แฟลตชาวร์ (Flat sour) 2. เทอร์โมฟิลิกแอนโรบ (thermophilic anaerobe TA) 3. พิวตริแฟคชัน (putrefection)

  9. การเน่าเสียของอาหารกระป๋องการเน่าเสียของอาหารกระป๋อง

  10. อาหารหมัก(fermented food) การหมักของจุลินทรีย์มีหลายชนิด เช่น กะหล่ำปลีดอง (sauerkraut ) แบคทีเรียที่สร้าง กรดแล็กติกเป็นส่วนใหญ่ ผลิตภัณฑ์นมหมัก (ferment milk) หมายถึง ผลิตภัณฑ์นมซึ่งมีรสเปรี้ยว เกิดจากการหมัก นมพาสเจอร์ไรด์ด้วยแล็กติกแอสิดแบคทีเรีย 1. โยเกิร์ต (yogurt) 2. นมบัตเตอร์ (butter milk) 3. นมคีเฟอร์ (kefir) เป็นนมเปลี่ยนที่ทั้งกรดและแอลกอฮอล์รวมกัน โปรตีนเซลล์เดียวจากจุลินทรีย์(Single cell protein; SCP) การใช้โปรตีนเซลล์เดียวเป็นอาหารเสริมหรืออาหารทดแทนมีข้อดี คือ 1. จุลินทรีย์เจริญเร็วมากและให้ผลผลิตจำนวนมาก เช่นการ เลี้ยงยีสต์ 1000 ปอนด์ 2. ปริมาณโปรตีนในเซลล์จุลินทรีย์มีสูงมาก 3. โปรตีนในจุลินทรีย์ปรกอบด้วยกรดอะมิโนที่จำเป็น

More Related