1 / 90

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน. (ว 42102). ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. ครูศรีไพร แตงอ่อน. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง. บอกข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับ วิวัฒนาการของดาวฤกษ์ และเนบิวลาได้. ครู ศรีไพร แตงอ่อน. ดาวฤกษ์. ก้อนแก๊สขนาดใหญ่ มีองค์ประกอบ ส่วนใหญ่เป็นธาตุไฮโดรเจน. ครู ศรีไพร แตงอ่อน. ดาวฤกษ์.

Download Presentation

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว 42102) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ครูศรีไพร แตงอ่อน

  2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง บอกข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับ วิวัฒนาการของดาวฤกษ์ และเนบิวลาได้ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  3. ดาวฤกษ์ ก้อนแก๊สขนาดใหญ่ มีองค์ประกอบ ส่วนใหญ่เป็นธาตุไฮโดรเจน ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  4. ดาวฤกษ์ • มีพลังงานในตัวเอง • มีแหล่งกำเนิดธาตุ • (ฮีเลียม,ลิเทียม,เบริลเลียม) ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  5. ความแตกต่างของดาวฤกษ์ความแตกต่างของดาวฤกษ์ • - มวล - อุณหภูมิ • สี - อายุ • องค์ประกอบทางเคมี • ขนาด - ความสว่าง ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  6. ความแตกต่างของดาวฤกษ์ความแตกต่างของดาวฤกษ์ • - ระยะห่าง • - ความสว่าง • ระบบดาว • - วิวัฒนาการ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  7. วิวัฒนาการของดาวฤกษ์ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  8. ดาวฤกษ์ เกิดจากการยุบตัวของ “เนบิวลา” “เนบิวลา” เป็นแหล่งกำเนิดของดาวฤกษ์ทุกชนิด ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  9. ดาวฤกษ์ (Astron) คือวัตถุท้องฟ้า ในอวกาศที่ เป็นก้อนแก๊สมวลมหาศาล ดาวฤกษ์ปรากฏเป็นจุดแสงในท้องฟ้าเวลากลางคืน

  10. ดาวฤกษ์ (Astron) เราเห็นแสงดาวกะพริบ จากผลของปรากฏการณ์ในบรรยากาศโลก และการที่ดาวฤกษ์อยู่ห่างไกลจากเรามาก ยกเว้นกรณีของดวงอาทิตย์ซึ่งเป็นดาวฤกษ์ ดวงเดียวที่อยู่ใกล้โลกมาก จนปรากฏเป็น ดวงกลมโตให้แสงสว่างในเวลากลางวัน

  11. ดาวฤกษ์ (Astron) ดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้ดโลกมากที่สุดยกเว้น ดวงอาทิตย์ คือดาวพร็อกซิมา(คนครึ่งม้า) อยู่ห่าง 39.9 ล้านล้านกิโลเมตร = 4.2 ปีแสง = 1.29 พาร์เซก หมายความว่าแสงจากดาวพร็อกซิมาคนครึ่งม้าใช้เวลาเดินทาง 4.2ปี จึงมาถึงโลก

  12. ดาวฤกษ์ (Astron) นักดาราศาสตร์ ประมาณว่ามีดาวฤกษ์อย่างน้อย 7 × 1022 ดวงในเอกภพหรือ 70,000,000,000,000,000,000,000 ดวง มากกว่า 230,000 ล้านเท่าของดาวฤกษ์ 300,000 ล้านดวงในดาราจักรทางช้างเผือกของเราเอง

  13. ดาวฤกษ์ (Astron) ดาวฤกษ์จำนวนมากมีอายุระหว่าง 1,000 - 10,000 ล้านปี บางดวงมีอายุเกือบ 13,700 ล้านปี ซึ่งเป็นอายุโดยประมาณของเอกภพ

  14. ดาวฤกษ์มีขนาดตั้งแต่เล็กกว่าเมืองๆ หนึ่ง อย่างดาวนิวตรอน(ซึ่งอาจกล่าวว่าเป็น ดาวที่ตายแล้ว) ไปจนถึงดาวยักษ์ใหญ่ อย่างดาวเหนือ(ดาวโพลาริส)และดาว บีเทลจุสในกลุ่มดาวนายพรานที่มีขนาด ประมาณ 1,000 เท่าของดวงอาทิตย์

  15. ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  16. ดาวฤกษ์ (Astron) ดาวขนาดใหญ่จะมีความหนาแน่น น้อยกว่าดวงอาทิตย์มาก ดาวฤกษ์ ที่มีมวลสูงที่สุดดวงหนึ่ง คือ ดาวอีตา(กระดูกงูเรือ) มีมวล 100–150 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  17. ดาวฤกษ์ (Astron) วิทยาศาสตร์นิยามว่าดาวฤกษ์ คือ ทรงกลมพลาสมาที่คงอยู่ได้ด้วย ความโน้มถ่วงของตัวเอง มีความสมดุลของความดัน (hydrostatic equilibrium)

  18. ดาวฤกษ์ (Astron) ผลิตพลังงานด้วยกระบวนการ การหลอมนิวเคลียสพลังงานที่เกิดขึ้น ในดาวฤกษ์แผ่ไปในอวกาศโดยการแผ่ รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า(ส่วนใหญ่เป็นแสงสว่างที่มองเห็นได้) อยู่ในรูปของกระแสนิวตริโน

  19. ดาวฤกษ์ (Astron) ความสว่างปรากฏของดาวฤกษ์บอกด้วย โชติมาตรปรากฏดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดที่ เห็นปรากฏบนท้องฟ้าโดยไม่นับ ดวงอาทิตย์ คือ ดาวซิริอุส หรืออีกชื่อคือ ดาวโจรอยู่ในกลุ่มดาวสุนัขใหญ่

  20. ดาวฤกษ์ (Astron) ส่วนดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดที่มองไม่เห็น เคยเชื่อว่าคือดาวปืน แต่ในปัจจุบัน พบว่ามีดาวLBV 1806-20 ที่สว่างมากกว่า

  21. ดาวฤกษ์ เกิดจากการยุบตัวของ “เนบิวลา” “เนบิวลา” เป็นแหล่งกำเนิดของดาวฤกษ์ทุกชนิด ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  22. เนบิวลา ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  23. เนบิวลา กลุ่มก้อนมวลสารทั่วไปในจักรวาล (Interstellar medium)เท่านั้น มิได้รวมไปถึงดาวหรือกลุ่มดาว ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  24. ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  25. เนบิวลา เป็นกลุ่มก๊าซและผงฝุ่นที่รวมตัว กันอยู่ในอวกาศมาจากภาษาลาติน แปลว่า “เมฆ” ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  26. เนบิวลา คาดว่าเกิดมาพร้อมกับการกำเนิดเอกภพที่จะก่อเกิดดาวฤกษ์รุ่นแรกและเกิดจากการแตกดับของดาวฤกษ์รุ่นแรกที่ทิ้งซากไว้เพื่อรอการกำเนิดเป็นดาวฤกษ์ขั้นที่สองอีกครั้ง ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  27. เนบิวลาตาแมว ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  28. เนบิวลานกอินทรีย์ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  29. เนบิวลา • มี 4 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ • Emission nebula (มีแสงในตัวเอง) • Reflective nebula(สะท้อนแสง) • Planetary nebula(ดาวเคราะห์) • Dark nebula(มืด) ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  30. Emission nebula ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  31. เนบิวล่าส่องแสง(Emission Nebula) ในส่วนรอบนอกของเนบิวล่าอิเล็คตรอน ในอะตอมของฝุ่นและก๊าซได้รับพลังงานรังสีอัลตราไวโอเลตที่แผ่มาจากส่วนร้อนๆในใจกลางกลุ่มอันเป็นส่วนที่กำลังฟักตัวจะเกิดเป็นดาว ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  32. เนบิวล่าส่องแสง(Emission Nebula) มีกำลังใต่ขึ้นวงโคจรที่สูงขึ้นไปแต่มันเป็นสภาพของอิเลคตรอนที่ไม่เสถียรเมื่อมันตกกลับมายังวงโคจรเดิมที่เสถียรกว่า ก็จะคายพลังงานเปล่งแสงออกมา เช่นเดียวกันกับการเปล่งแสงของหลอดไฟนีออน ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  33. เนบิวล่าส่องแสง(Emission Nebula) โดยปกติเนบิวล่า ชนิดนี้มักจะมี สีแดงจากการเปล่งพลังงาน อันเป็นเอกลักษณ์ของก๊าซไฮโดรเจน ที่เป็นส่วนประกอบหลักของเนบิวล่าพวกนี้ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  34. Reflective nebula ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  35. เนบิวลาสะท้อนแสง(Reflective nebula) เป็นกลุ่มฝุ่นและก๊าซที่ล้อมรอบดาวแรกเกิดซึ่งฉายแสงกระทบสะท้อนออกมา ด้วยลักษณะทางกายภาพ คือขนาดของเม็ดฝุ่นของ เนบิวล่า พวกนี้ จะทำให้สะท้อนแสงสีฟ้าได้ดีกว่าคลื่นอื่นจึงมักจะมีสีฟ้า ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  36. เนบิวลาสะท้อนแสง(Reflective nebula) เนบิวล่าสะท้อนแสง มักจะอยู่แถวๆที่มีดาวเพิ่งเกิดใหม่ และมักจะพบ เนบิวล่าส่องแสง ไปด้วยกัน บางครั้งจึงเรียก เนบิวล่า ทั้งสองแบบนี้รวมๆกันไปว่าเนบิวล่าปื้นแสง(Diffuse Nebula) ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  37. เนบิวลาหัวม้า ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  38. เนบิวล่ามืด(Dark Nebula) กลุ่มฝุ่นและก๊าซที่พรางแสงดวงดาวจากสายตาเรา โดยทางกายภาพเนบิวล่ามืด ก็เหมือนกับ เนบิวล่าสะท้อนแสง นั่นเอง เพียงแต่ดูไม่เหมือนกันก็เพราะตำแหน่งของต้นกำเนิดแสง และคนที่มองอยู่บนโลก ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  39. เนบิวล่ามืด(Dark Nebula) มักจะอยู่ร่วมกันกับ เนบิวล่าส่องแสง และ เนบิวล่าสะท้อนแสง เช่นกัน แต่มักจะมีขนาดใหญ่โตมโหฬาร กว้างเป็นหลายร้อยปีแสง ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  40. Planetary nebula ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  41. planetary nebula เป็นสถานะสุดท้ายของดวงดาว ที่มีมวล ประมาณดวงอาทิตย์ของเรา ในภาพแสดง nebula IC 418ซึ่งอยู่ห่าง จากโลกประมาณ 2,000 ปีแสง ถ่ายโดย กล้อง Hubble Space Telescope ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  42. planetary nebula ดาวที่ใจกลางของ nebula IC 418มี ลักษณะเป็นดาวยักษ์แดง(หรือ red giant ) เมื่อประมาณหลายพันปีที่แล้ว และมันได้ พ่นกลุ่มก๊าซให้กระจายอยู่ในอวกาศใกล้ๆ ในภาพนั้นมีรัศมีประมาณ 0.1ปีแสง ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  43. planetary nebula รังสีอัลตราไวโอเลต ที่แผ่ออกมาจาก แกนกลางที่เหลื่ออยู่ของดาว ทำให้กลุ่มก๊าซ รอบๆ เกิดการเรืองแสงเป็นสีสวยงามอย่างที่ เห็นกัน เมื่อเวลาผ่านไปอีกหลายพันปี ดาวก็จะเย็นตัวลงเกิดเป็นดาวแคระขาว ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  44. Planetary nebula ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  45. Planetary nebula ครู ศรีไพร แตงอ่อน

  46. เนบิวลาคารินา(Carina Nebula) ครู ศรีไพร แตงอ่อน

More Related