1 / 29

การพัฒนาเครือข่าย การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ บริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับเยาวชน จังหวัดอ่างทอง

การพัฒนาเครือข่าย การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ บริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับเยาวชน จังหวัดอ่างทอง. ปัญหาของจังหวัดอ่างทอง. ปี 2555 - อัตราการใช้ถุงยางอนามัยในวัยรุ่น 58.47 % อัตราการคุมกำเนิดในวัยรุ่น 50.57 % แม่คลอดบุตรอายุ 10 – 19 ปี 20.07 %. ปี 2556

ilana
Download Presentation

การพัฒนาเครือข่าย การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ บริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับเยาวชน จังหวัดอ่างทอง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาเครือข่าย การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ บริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับเยาวชน จังหวัดอ่างทอง

  2. ปัญหาของจังหวัดอ่างทองปัญหาของจังหวัดอ่างทอง • ปี 2555 • - อัตราการใช้ถุงยางอนามัยในวัยรุ่น 58.47 % • อัตราการคุมกำเนิดในวัยรุ่น 50.57 % • แม่คลอดบุตรอายุ 10 – 19 ปี 20.07 % ปี 2556 -แม่คลอดบุตรอายุต่ำกว่า 20 ปี 20.87 % ปัญหาวัยรุ่นอื่นๆ โรค STDHIV สุขภาพจิต ยาเสพติด แอลกอฮอล์

  3. พื้นที่ดำเนินการ 7 อำเภอ โรงเรียนมัธยม 7 แห่ง งบประมาณ 252,000 บาท

  4. กิจกรรม 1. จัดประชุมคณะทำงานเครือข่ายระดับจังหวัด 30 คน จำนวน 2 ครั้ง องค์ประกอบของคณะทำงาน 1. ผู้รับผิดชอบงานคลินิกวัยใสของ รพท./รพช. 2. ผู้รับผิดชอบงานคลินิกเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 3. ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด หญิงตั้งครรภ์อายุต่ำกว่า 20 ปี 4. นักวิชาการของสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ

  5. บทบาทหน้าที่ 1. วางแผนการดำเนินงาน 2. ประเมิน สรุปผลการดำเนินงาน ประชุมวางแผน ครั้งที่ 1 (16 ต.ค.56)

  6. กิจกรรม 2. สร้างกลุ่มวัยรุ่นแกนนำระดับตำบล ตำบลละ 5 คน รวม 385 คน

  7. วิธีการสร้างกลุ่ม 1. ระดับตำบล ร่วมกับท้องถิ่น ช่วยกันคัดเลือกแกนนำวัยรุ่น 2. ระดับอำเภอจัดอบรม พัฒนาศักยภาพแกนนำวัยรุ่น 1 วัน ครอบคลุม เนื้อหา ดังนี้ 2.1 ความรู้เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การคุมกำเนิด ฯลฯ 2.2 ช่องทางการเข้าถึงบริการในคลินิกวัยใส 2.3 การเก็บข้อมูล รายงานผลการดำเนินงาน 3. จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานแก่แกนนำวัยรุ่นทั้งในระดับ ตำบลเดือนละ 1 ครั้ง และระดับอำเภอ 1 ครั้ง

  8. กิจกรรม 3. ส่งเสริมการจัดมุมให้ความรู้ และให้ คำปรึกษาในโรงเรียนมัธยม 7 แห่ง (เพิ่มเป็น 8 แห่ง)

  9. กิจกรรม 4. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ ด้านความรู้ และการการเข้าถึงระบบบริการของวัยรุ่น ช่องทางการสื่อสาร 1. วิทยุชุมชน 2. บูทนิทรรศการ ในแหล่งชุมชน (BIG C) 3. ป้ายประชาสัมพันธ์ 4. Face book

  10. กิจกรรม 5. พัฒนาระบบการให้คำปรึกษาในคลินิกวัยใสของโรงพยาบาล 7 แห่ง

  11. คลินิกวัยใสใน รพ. GREEN CARD GREEN CARD ประเมินสภาพ/สถานการณ์ /ซักประวัติ ให้คำปรึกษาเบื้องต้นตามแต่สภาพปัญหา จ่ายถุงยาง อนามัย การคุมกำเนิด ตรวจการตั้งครรภ์ ส่งตรวจSTI ส่งตรวจHIV

  12. กิจกรรม 6. พัฒนาระบบการจัดการข้อมูลทั้งด้านการรายงานและการส่งต่อบริการ 1. แบบบันทึกการให้คำปรึกษา 2. แบบบันทึกข้อมูลผู้รับบริการ

  13. ตัวชี้วัด 1. ร้อยละ 80 ของ รพ.ที่มีคลินิกวัยรุ่น มีระบบ การส่อต่อบริการจากการดำเนินงานเชิงรุก 2. จำนวนเยาวชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยง ได้รับความรู้ฯ และเข้าถึงบริการให้คำปรึกษา

  14. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. การดำเนินงานเชิงรุกในพื้นที่แกนนำใน ชุมชน / รร. ได้รับการพัฒนาศักยภาพ การให้บริการ 2. เกิดระบบการส่งต่อบริการจากเครือข่าย เข้าสู่บริการเชิงรับ 3. ระบบข้อมูลการให้บริการ

  15. เด็กยุคเก่า (มากๆๆ)

  16. เด็กยุคใหม่

  17. การจัดบริการคลินิกวัยรุ่นการจัดบริการคลินิกวัยรุ่น

  18. 1. ระยะเตรียมการ 1. กำหนดผู้รับบริการ กรรมการภายใน รพ. /เครือข่าย2. การเตรียมข้อมูล ข้อมูลพื้นฐาน /ความต้องการของวัยรุ่น/ ปัญหาสุขภาพของวัยรุ่นในพื้นที่3. จัดทำแผนงานโครงการ เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการ4. การประชุมคณะกรรมการ5. การสื่อสารภายใน รพ.6. การจัดทำระบบบริการร่วมกันกับเครือข่าย

  19. 2. ระยะดำเนินการ 1. การจัดรูปแบบคลินิกวัยรุ่น แยกเฉพาะ/ผสมผสานกับคลินิกเดิม2. การจัดบริการ ใครคือผู้ให้บริการ / ผังการให้บริการที่ชัดเจน /เวลา /ขั้นตอนบริการ/การรักษาความลับ/การส่งต่อบริการ3. กิจกรรมเชิงรุก..........4. การติดตามประเมินผล ข้อมูลที่สำคัญ ดังต่อไปนี้

  20. ข้อมูลที่สำคัญ 1. จำนวนประชากรวัยรุ่นและเยาวชนอายุ 10 – 24 ปี จำแนกตามเพศและกลุ่มอายุ2. จำนวนผู้รับบริการวัยรุ่น แยกตามกลุ่มอายุ เพศ และประเภทของบริการ3. จำนวนและร้อยละของวัยรุ่นอายุ 10- 19 ปี ที่มาคลอดบุตร4. อัตราการตั้งครรภ์ของวัยรุ่น 15 – 19 ปี ต่อปชก.หญิงอายุ 15-19 ปี 1000 คน5. จำนวนและร้อยละของแม่วัยรุ่นอายุต่ำกว่า 20 ปี มาฝากครรภ์

  21. ข้อมูลที่สำคัญ 6. จำนวนและร้อยละการป่วยโรคเอดส์ของวัยรุ่นอายุต่ำกว่า 20 ปี7. จำนวนและร้อยละการป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นและเยาวชน อายุ 15-19 ปี ต่อประชากร 100,000 คน8. จำนวนและร้อยละของหญิงอายุต่ำกว่า 20 ปี แท้งบุตร (รวมทำแท้งและแท้งเอง)9. ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการวัยรุ่น10. ร้อยละการเข้าถึงบริการ และการใช้บริการของคลินิกวัยรุ่น

  22. ข้อมูลที่สำคัญ 11. บทเรียนและปัจจัยสู่ความสำเร็จของการดำเนินงานควรมีการสำรวจปัญหาวัยรุ่นในพื้นที่ เพื่อเป็น evidence base

  23. 3. ระยะประเมินตนเอง แบบประเมินตนเองตามมาตรฐานบริการที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน สามารถ Downloadได้จาก http://rh.anami.moph.go.th

  24. ภารกิจวันนี้ • กำหนดการจัดประชุมแกนนำวัยรุ่น - จัดรวมภาพจังหวัด - จัดแยกตาม CUP ที่ไหน/เมื่อไร /ทีมวิทยากร 2. การบริหารจัดการงบประมาณ หลักฐาน/ การเบิกจ่ายงบประมาณ

  25. ภารกิจวันนี้ 3. การจัดทำรายงาน - ร่วมกันวิเคราะห์แบบบันทึก

  26. *Thank you*

  27. อ.เมือง = 70 • อ.วิเศษ = 75 • โพธิ์ทอง = 85 • ไชโย = 45 • แสวงหา = 35 • สามโก้ = 25 • ป่าโมก = 50 วันที่

More Related