120 likes | 260 Views
ผลการพัฒนาประสิทธิภาพ รพสต. ที่ประสบปัญหาทางการเงิน (พปง.) จังหวัดอุดรธานี ในการประชุมลงนาม MOU 8 กันยายน 2557. วัตถุประสงค์ ของการพัฒนาประสิทธิภาพ รพสต. 1. เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ รพสต.ที่ประสบปัญหาทางการเงิน (พปง. ในรพสต.) ของจังหวัดอุดรธานี.
E N D
ผลการพัฒนาประสิทธิภาพ รพสต. ที่ประสบปัญหาทางการเงิน (พปง.) จังหวัดอุดรธานี ในการประชุมลงนาม MOU 8 กันยายน 2557 วัตถุประสงค์ ของการพัฒนาประสิทธิภาพ รพสต. 1.เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ รพสต.ที่ประสบปัญหาทางการเงิน (พปง. ในรพสต.) ของจังหวัดอุดรธานี 2.เพื่อให้การช่วยเหลือ รพสต.ที่มีค่าใช้จ่าย Fixed Cost สูง การเงินติดลบ 3.เพื่อจัดทำพิธีการลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือมาตรการพปง.ของรพสต. (MOU)
สภาพปัญหาในรพสต.ที่ขอ CF จังหวัด 1. ภาพรวมค่าใช้จ่าย Fixed Cost เฉลี่ยเดือนละ 85,000 – 255,000 บ. 1.1 ค่าใช้จ่ายค่าจ้างลูกจ้างชั่วคราว เฉลี่ยเดือนละ 50,000 – 200,000 บ. 1.2 ค่าใช้จ่ายตอบแทน OT เฉลี่ยเดือนละ 30,000 – 40,000 บ. 1.3 ค่าสาธารณูปโภค เฉลี่ยเดือนละ 3,000 – 10,000 บ. 1.4 ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง เฉลี่ยเดือนละ 2,000 – 5,000 บ. 2. ภาพรวมรายได้ เฉลี่ยเดือนละ 80,000 – 220,000 บาท รายรับรอบ 10 เดือน มีดังนี้ 2.1 รายรับ UC เฉลี่ย 600,000 - 1,200,000 บาท 2.2 รายรับ QOF เฉลี่ย 150,000 – 500,000 บาท 2.3 รับจัดสรรเงิน CF จาก CUP เฉลี่ย 50,000 – 200,000 บาท 2.4 รับจากกองทุนตำบล เฉลี่ย 50,000 – 200,000 บาท 2.5 รับจากผู้ป่วยจ่ายเงินเอง เฉลี่ย 10,000- 50,000 บาท 2.6 รับจากกองทุนแพทย์แผนไทย 2,000 – 30,000 บาท สรุปคือ รายได้ต่ำกว่ารายจ่าย เฉลี่ยเดือนละ 5,000 – 35,000 บาท
ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ CFO จังหวัด 1. ด้านการจ่ายเงิน CF จังหวัด ขั้นที่ 1. ให้ช่วยเหลือกันในระดับ CUP ขั้นที่ 2. ให้ขอเงิน CF โซน ขั้นที่ 3. ให้สรุปการช่วยเหลือขั้นที่ 1 และ 2 และแจ้งยืนยันการขอเงิน CF ไปยังจังหวัด ขั้นที่ 4. จังหวัดเสนอข้อมูลต่อผู้บริหาร เพื่อพิจารณาจ่ายเงิน CF จังหวัด พร้อมทั้งจัดทำข้อตกลงเข้าโครงการ พปง.ของจังหวัด 3
2. ด้านการบริหารการเงิน ของระดับ CUP และรพสต.เครือข่าย 2.1 ให้สาธารณสุขอำเภอทำหน้าที่กำกับรายจ่ายของรพสต. 2.2 ให้รพสต.จัดทำแผนงบประมาณประจำปีแบบติดบวก 2.3 ให้ผอ.รพสต. กำกับวิเคราะห์รายได้-ค่าใช้จ่าย เป็นรายสัปดาห์ 2.4 ในระดับ CUPให้แต่ละรพสต.สรุปปัญหาการขาดสภาพคล่องทุกเดือน นำเข้าที่ประชุมคปสอ.เพื่อแก้ไขปัญหา 2.5 ให้ คปสอ. ตรวจสอบเงินโอนรับค่าแรง เงินเดือน และค่าตอบแทนต่างๆ ที่สปสช.โอนให้ว่าสอดคล้องกับจำนวนค่าใช้จ่ายบุคลากรที่มีอยู่จริงหรือไม่ 2.6 ให้หารายได้เพิ่มจากงานบริการที่สามารถเรียกเก็บจาก สปสช. เช่น แพทย์แผนไทย ANC ภาระงาน หรือ QOF เป็นต้น 4
เกณฑ์การพิจารณาให้เงิน CF พปง. ในรพสต.ของกม. CFO โดยนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด อนุมัติวงเงิน 2,000,000 บาท • พิจารณาให้รพ.สต.ที่ • เงินบำรุงคงเหลือ ต่ำกว่า 100,000บาท • 2) ประชากร ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของกลุ่ม • 3) พิจารณาจำนวนเงินช่วยเหลือขั้นต่ำคูณด้วย 4 เดือน จากค่าใช้จ่าย Fixed Cost ของรพสต. ที่ขอเงิน CF มาที่จังหวัด ตามที่จ่ายจริง ผลการพิจารณาให้ CF จำนวน 18 แห่ง รายชื่อดังนี้
พิจารณาให้การช่วยเหลือ CF รพสต. รวม 18 แห่ง
ขั้นตอนมาตรการพปง. ในรพสต. • ลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือมาตรการพปง.ของรพสต. (MOU) • รพสต. ต้องพัฒนาประสิทธิภาพ ตามมาตรการที่กำหนดไว้ • ในโครงการพปง.ของจังหวัด แบ่งเป็น 4 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1.ระยะเวลา กันยายน 2557 เป็นต้นไป -รพสต. ต้องส่งงบทดลองได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วนและทันเวลาทุกเดือน การวัดผล ส่งงบทดลองได้ทันภายในวันที่ 20 ของเดือนถัดไป
ระยะที่2.ช่วงระยะเวลา 1ตุลาคม–31ธันวาคม2557 - ลดรายจ่ายทุกหมวด ให้ไม่เกินค่าเฉลี่ยของกลุ่ม - เพิ่มรายรับทุกหมวด ให้รายรับรวมไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ยของกลุ่ม - งดการประชุม อบรม ทำแผน ศึกษาดูงาน ทุกชนิด ยกเว้นงานนโยบายสำคัญ - งดการก่อสร้าง ต่อเติม การซื้อครุภัณฑ์ต่างๆ ที่ไม่จำเป็นทุกชนิด - ปรับอัตรากำลังให้เหมาะสม รวมทั้งการจัดเวรต่างๆ ให้สอดคล้องกับปริมาณงาน 9
ระยะที่3.ช่วงระยะเวลา 1 มกราคม 2558 ลดค่าตอบแทนบุคลากรที่ใช้จากเงินบำรุง (OT และอื่นๆ) - ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 20 % - เจ้าหน้าที่ 10 % - คนงาน 5% การวัดผลจนกว่ารายได้สูงกว่าค่าใช้จ่าย 10
ระยะที่4.ช่วงระยะเวลา เริ่ม 1 เมษายน 2558 หากไม่สามารถดำเนินการได้ในไตรมาสที่ 2/2558 ให้มอบอำนาจการบริหารจัดการทั้งหมดให้สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบริหารงานแทน การวัดผลจนกว่าจะได้รับการประเมินจากคณะกรรมการ CFO จังหวัดอุดรธานี 11
เมื่อเข้าใจตามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือเมื่อเข้าใจตามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ โปรดลงนาม