1 / 11

ประเด็นทางเศรษฐศาสตร์ต่อแนวทางการจัดสรรช่องรายการโทรทัศน์ในระบบดิจิตอล ประเภทกิจการธุรกิจ

ประเด็นทางเศรษฐศาสตร์ต่อแนวทางการจัดสรรช่องรายการโทรทัศน์ในระบบดิจิตอล ประเภทกิจการธุรกิจ. พรเทพ เบญญาอภิกุล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. โครงสร้างจำนวนช่องรายการ. ทำไมต้องแบ่งประเภทช่องรายการ ?. ความล้มเหลวของระบบตลาด รายการดี แต่ไม่ได้รับความนิยม จะไม่ถูกผลิต

ike
Download Presentation

ประเด็นทางเศรษฐศาสตร์ต่อแนวทางการจัดสรรช่องรายการโทรทัศน์ในระบบดิจิตอล ประเภทกิจการธุรกิจ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประเด็นทางเศรษฐศาสตร์ต่อแนวทางการจัดสรรช่องรายการโทรทัศน์ในระบบดิจิตอลประเภทกิจการธุรกิจประเด็นทางเศรษฐศาสตร์ต่อแนวทางการจัดสรรช่องรายการโทรทัศน์ในระบบดิจิตอลประเภทกิจการธุรกิจ พรเทพ เบญญาอภิกุล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

  2. โครงสร้างจำนวนช่องรายการโครงสร้างจำนวนช่องรายการ

  3. ทำไมต้องแบ่งประเภทช่องรายการ?ทำไมต้องแบ่งประเภทช่องรายการ? • ความล้มเหลวของระบบตลาด • รายการดี แต่ไม่ได้รับความนิยม จะไม่ถูกผลิต • ผู้ประกอบกิจการตอบสนองต่อทั้ง ผู้ชม และผู้สนับสนุนรายการ • ความต้องการรับชม เปลี่ยนแปลงไปตามรายการที่รับชม ไม่ได้มาตามธรรมชาติ

  4. การแบ่งประเภทช่องรายการ แก้ปัญหาอะไร? เพียงพอหรือไม่? • แบ่งช่องรายการ ทำให้รายการข่าว และรายการเด็กมากขึ้น (ปัญหาด้านปริมาณถูกแก้ไข) • แต่ปัญหาคุณภาพยังอยู่ รายการคุณภาพดี ที่ไม่ได้รับความนิยม จะยังไม่ได้รับการผลิต เช่นเดิม

  5. ข้อเสนอเพิ่มเติมเพื่อประกอบการแบ่งประเภทช่องรายการข้อเสนอเพิ่มเติมเพื่อประกอบการแบ่งประเภทช่องรายการ • การแบ่งประเภทช่องรายการมีต้นทุนที่สังคมต้องจ่ายเช่นกัน • ลดราคาช่องเพื่อจูงใจ ทำให้รัฐได้รายรับน้อยลง • ช่องรายการเด็ก และข่าว เสียโอกาสในการทำให้เป็นช่องรายการทั่วไป • หากไม่มีข้อกำหนดด้านคุณภาพ สังคมจะได้รับ “สินค้า” ที่มีคุณภาพไม่สอดคล้องกับ “ราคา” ที่จ่ายไป

  6. ตัวอย่างประเด็นการกำกับด้านเนื้อหาตัวอย่างประเด็นการกำกับด้านเนื้อหา • การวางกรอบคุณสมบัติของรายการที่ช่องรายการต้องมีการผลิต • ข้อกำหนดเกี่ยวกับความหลากหลายของรายการเช่น เวลาขั้นต่ำที่ต้องฉายรายการที่มีคุณสมบัติที่กำหนด ในเวลาที่เหมาะสม • ข้อกำหนดเกี่ยวกับเนื้อหาของโฆษณาสำหรับรายการเด็ก • ข้อกำหนดเกี่ยวกับเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมในการออกอากาศที่ชัดเจน

  7. การกำหนดเพดานการถือครองช่องรายการจำเป็นหรือไม่?การกำหนดเพดานการถือครองช่องรายการจำเป็นหรือไม่? • ห้ามผู้ประกอบกิจการถือครองช่องรายการกลุ่มเดียวกันเกิน 1 ช่อง • ห้ามถือครองช่องรายการประเภททั่วไปในระบบ HD และช่องรายการข่าวพร้อมกัน • ผู้ประกอบการอย่างน้อย 14 ราย • ส่งผลลดการแข่งขันในการประมูลช่องรายการประเภทข่าว • ไม่มีผู้ประกอบการรายใหญ่และมีศักยภาพในการผลิตรายการคุณภาพสูง ทำช่องรายการข่าว

  8. ราคาเริ่มต้นการประมูลราคาเริ่มต้นการประมูล • มูลค่าคลื่นที่ใช้กำหนดราคาเริ่มต้นตั้งอยู่บนข้อสมมติของสถานการณ์ที่เลวร้ายที่สุด (worst case scenario) • HD เท่ากับ 1,507 ล้านบาท, ช่องรายการทั่วไป SD เท่ากับ 374 ล้านบาท, ช่องรายการข่าวเท่ากับ 211 ล้านบาท และช่องรายการเด็กเท่ากับ 134 ล้านบาท (นโยบาย must carry) • การประเมินมีความเสี่ยงที่จะมีความผิดพลาดสูง worst case scenario น่าจะเป็นทางเลือกที่ปลอดภัย (conservative) ที่สุด

  9. ราคาเริ่มต้นการประมูลราคาเริ่มต้นการประมูล • ปรับราคาเริ่มต้นการประมูลตามจำนวนของผู้เข้าประมูลและจำนวนใบอนุญาต โดยราคาเริ่มต้นจะลดลงอย่างเป็นสัดส่วนเมื่อผู้เข้าประมูลมีจำนวนมากขึ้น • ลดลงได้ถึง 20 เปอร์เซ็นต์ของมูลค่าประเมินต่ำสุดจาก worst case scenario (หากจำนวนผู้เข้าร่วมประมูลเท่ากับ 20 ราย สำหรับช่องรายการทั่วไปและช่องรายการข่าว และ 15 รายขึ้นไปสำหรับช่องรายการเด็ก)

  10. ข้อควรระวัง • กลยุทธ์น่าสนใจ น่าจะมีส่วนให้การจัดสรรช่องรายการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ • การเลือกประกาศ (หรือไม่ประกาศ) “เมนูราคาเริ่มต้น” ข้างต้นนั้นก็เป็นส่วนหนึ่งของ “กลยุทธ์” การจัดการประมูลเช่นกัน • ผู้ประกอบการจะมีแรงจูงใจในการส่งเสริม ชักจูง กระทั่งร่วมมือกัน “เพิ่ม” จำนวนผู้เข้าร่วมประมูล • เริ่มต้นที่แท้จริงในทางปฏิบัติก็คือราคาต่ำสุดใน “เมนูราคา” ที่ กสทช.ประกาศนั้นเอง

  11. ข้อเสนอแนะ • ไม่มีปัญหา ถ้าผู้เข้าร่วมประมูลที่จริงจังมากกว่าช่องรายการ • มีปัญหา ถ้าผู้ประมูลที่จริงจังน้อย รัฐได้รายรับน้อยกว่าที่ควรจะเป็น สูงสุดถึง 20% ถ้าผู้ประมูลที่จริงจังมีน้อยกว่าสินค้า • มาตรการที่บรรเทาปัญหา เช่น • เพิ่มหลักประกันที่ต้องวางก่อนการประมูล • ไม่เปิดเผยตัวตนของผู้เข้าร่วม • ไม่เปิดเผยข้อมูลว่าผู้เข้ารวมแต่ละราย ประมูลใบอนุญาตใดบ้าง ในระหว่างประมูล

More Related