190 likes | 340 Views
การประชุมรองอธิการบดีที่ดูแลงานด้านต่างประเทศ ของสถาบันอุดมศึกษาไทย. หัวข้อการนำเสนอ. การดำเนินงานด้านต่างประเทศของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. ความเคลื่อนไหวด้านอุดมศึกษาระหว่างประเทศ. 1. การดำเนินงานด้านต่างประเทศของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. 1.1 โครงการที่อยู่ระหว่างดำเนินการ.
E N D
การประชุมรองอธิการบดีที่ดูแลงานด้านต่างประเทศการประชุมรองอธิการบดีที่ดูแลงานด้านต่างประเทศ ของสถาบันอุดมศึกษาไทย
หัวข้อการนำเสนอ การดำเนินงานด้านต่างประเทศของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ความเคลื่อนไหวด้านอุดมศึกษาระหว่างประเทศ
1. การดำเนินงานด้านต่างประเทศของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 1.1 โครงการที่อยู่ระหว่างดำเนินการ 1.1.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ด้านต่างประเทศของการอุดมศึกษาไทย 1.1.2 การจัดทำยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางวิชาการด้านอุดมศึกษา กับประเทศเพื่อนบ้าน (กัมพูชา ลาว เมียนมาร์และเวียดนาม) 1.1.3 การจัดสรรทุนพัฒนาอาจารย์และนักศึกษา 1.1.4 การประเมินผลการดำเนินงานโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา กับบุคลากรกับต่างประเทศของสำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา
1.1.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ด้านต่างประเทศของการอุดมศึกษาไทย (พ.ศ. 2556 – 2560) 1. การพัฒนาระบบและกลไกการบริหารจัดการอุดมศึกษาให้สถาบันอุดมศึกษามีขีดความสามารถสูง 2. การยกระดับคุณภาพวิชาการให้เทียบเท่ามาตรฐานนานาชาติ อุดมศึกษาไทย 3. การพัฒนา เครือข่ายวิชาการทั้งในและระหว่างประเทศในสาขาที่เข้มแข็ง 4. การพัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ทั้งในฐานะประชากรของสังคมไทยและประชาคมโลก
1.1.2 การจัดทำยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางวิชาการด้านอุดมศึกษากับประเทศเพื่อนบ้าน (กัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และเวียดนาม) 1. การระดมความร่วมมือจากภาคเอกชน องค์กรระหว่างประเทศและประเทศที่เป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนาความร่วมมือทางวิชาการ 2. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ร่วมกัน 3. การแลกเปลี่ยนและพัฒนาองค์ความรู้และความเชี่ยวชาญ 4. การสร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เกี่ยวกับประเทศ เพื่อนบ้าน
1.1.3 การจัดสรรทุนพัฒนาอาจารย์และนักศึกษา นักศึกษา อาจารย์ โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาไทยและอาเซียน Technology Grants (Ph.D., Post Doctoral Research, Sandwich for Ph.D.) AIMS ASEA Uninet UMAP • Staff Exchange • Senior & Junior Scientists • Guest Professor DUO - Thailand ASEA Uninet • On Place Thailand Scholarship (Cambodia, Laos) • ทุนด้านดุริยางศิลป์ (คลาสสิค) • Master Class in Voice and Piano Accompaniment Franco – Thai Cooperation Programme RBD
1.1.4 การประเมินผลการดำเนินโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาและบุคลากรกับต่างประเทศของ สกอ. เพื่อศึกษาวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน ปัญหา/อุปสรรคและข้อจำกัดของการดำเนินโครงการแลกเปลี่ยน นำผลที่ได้ไปใช้เป็นแนวทางการดำเนินโครงการในอนาคต
1. การดำเนินงานด้านต่างประเทศของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 1.2 โครงการริเริ่มใหม่ 1.2.1 โครงการ “การพัฒนาฐานข้อมูลดัชนีการอ้างอิงวารสาร สำหรับประเทศในกลุ่มอาเซียน” 1.2.2 โครงการประกวด ผลิตและเผยแพร่สื่อประชาสัมพันธ์ด้าน อาเซียน เรื่อง “อาเซียน ... แตกต่างอย่างกลมกลืน” 1.2.3 การสัมมนา “Education Internationalization Forum” 1.2.4 การประชุม เรื่อง “Understanding and Improving Research Outcomes for Thailand” 1.2.5 โครงการพัฒนาผู้นำเยาวชนเพื่อสร้างความตระหนักถึง ผลกระทบของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
1.2.1 ASEAN Citation Index (ACI) TH เพื่อส่งเสริมให้ประเทศสมาชิกอาเซียนจัดตั้งฐานข้อมูลของตนเอง และใช้ผลักดันให้เกิดการพัฒนาคุณภาพผลงานวิชาการ KM MY IN LA สกอ. สนับสนุนงบประมาณให้ มจธ. ดำเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 และมีการจัดประชุมแล้ว 1 ครั้ง ACI MM PH มีการดำเนินการเสนอผู้แทนแต่ละประเทศเข้าเป็น ACI Steering Committee และมีการสร้างความร่วมมือกับ Scopus เพื่อให้มีมาตรฐานสากล BN VN SG
1.2.2 โครงการประกวด ผลิตและเผยแพร่สื่อประชาสัมพันธ์ด้านอาเซียน เรื่อง “อาเซียน ... แตกต่างอย่างกลมกลืน” เพื่อส่งเสริมและสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับการอยู่ร่วมกันภายใต้ความแตกต่างทางสังคมและวัฒนธรรมระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ประกวดภาพยนตร์สั้นและสื่อแอนิเมชั่น กลุ่มเป้าหมายคือนักศึกษาระดับปริญญาตรีในสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดและในกำกับ สกอ. ประกาศโครงการ ต้นเดือน ก.ค. มีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการให้แก่ทีมที่ผ่านการคัดเลือกเค้าโครงผลงาน โดยผู้เชี่ยวชาญในสายงานการผลิตสื่อ
1.2.3 Education Internationalization Forum: Measuring Internationalization for Multiplier Effects • กิจกรรมประกอบด้วย • บรรยาย Core of Education Internationalization • เสวนา Mapping and Measuring Thailand’s Education Internationalization • ประชุมโต๊ะกลม (เฉพาะกลุ่ม) เพื่อสร้างความตระหนักในการส่งเสริมความเป็นสากลของอุดมศึกษาไทย และกำหนดทิศทางและกรอบการขับเคลื่อนความเป็นสากลของอุดมศึกษาไทย • สกอ. ดำเนินโครงการร่วมกับ • มูลนิธิการศึกษาไทย-อเมริกัน • สถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทย 18 ก.ย. 57
1.2.4 Understanding and Improving Research Outcome for Thailand 16 – 17 มิถุนายน 2557 เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านการวิจัยระหว่างผู้เชี่ยวชาญในออสเตรเลียกับสถาบันอุดมศึกษาไทย รวมทั้งแนวทางในการพัฒนาการวิจัยและผลการวิจัยเพื่อนำไปสู่การพัฒนาบทบาทของสถาบันอุดมศึกษาไทยในเวทีนานาชาติ ผู้เข้าร่วมประชุมมี 2 กลุ่ม • มหาวิทยาลัยวิจัย มหาวิทยาลัยนเรศวรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • สถาบันอุดมศึกษาทุกแห่ง ณ วอเตอร์เกท บอลรูมโรงแรมอมารี วอเตอร์เกท
1.2.5 โครงการพัฒนาผู้นำเยาวชนเพื่อสร้างความตระหนักถึงผลกระทบจากการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน สร้างเครือข่ายผู้นำเยาวชนเพื่อใช้เป็นกลไกนำความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนถ่ายทอดสู่เพื่อนนักศึกษา สร้างความเข้าใจ ทัศนคติและความตระหนักถึงผลกระทบจากการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนที่มีต่อการศึกษา การทำงานและการดำรงชีวิตแก่นักศึกษา สร้างความตระหนักให้นักศึกษาและผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาไทยเห็นความสำคัญและประโยชน์ของการเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่สังคมพหุวัฒนธรรมและความร่วมมือทางวิชาการที่ใกล้ชิดยิ่งขึ้นกับกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อสร้างความกลมกลืนของระบบอุดมศึกษาในอาเซียน กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาที่เคยเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษากับประเทศในกลุ่มอาเซียนและอาจารย์ผู้ดูแลงานด้านต่างประเทศ
2. ความเคลื่อนไหวด้านอุดมศึกษาระหว่างประเทศ 2.1 การส่งเสริมความเป็นสากลของอุดมศึกษา 2.2 กรอบความร่วมมือ Asia-EuropeMeeting of Ministers for Education (ASEMME) 2.3 การปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานที่กำกับดูแลการศึกษา ของต่างประเทศ
2.1 การส่งเสริมความเป็นสากลของอุดมศึกษา การร่วมมือกับสหภาพยุโรปดำเนินโครงการ Internationalization and Tuning of Higher Education Structures University Governance Standard and Evaluation Internationalization of Higher Education สกอ.เชิญผู้เชี่ยวชาญ EU มาเป็นวิทยากรแลกเปลี่ยนความรู้และแนวปฏิบัติที่ดีของการกำกับดูแลมหาวิทยาลัยภายใต้ University Governance Program (UPG) ของสถาบันคลังสมองของชาติ สกอ.เชิญผู้เชี่ยวชาญ EU มาร่วมประเมินโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาของสกอ. และศึกษาเปรียบเทียบการบูรณาการของสหภาพยุโรปกับการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน โดยมีการประชุมขยายผลการดำเนินงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันไปเมื่อวันที่ 31 ต.ค. 56 สกอ.เชิญผู้เชี่ยวชาญ EU มาประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับคณาจารย์ไทยในสาขาต่างๆ เพื่อสังเกตลักษณะและวิธีการสอน และร่วมกันสร้างเครื่องมือที่เหมาะสมกับเนื้อหาวิชา โดยมีการจัดประชุมนำเสนอรายละเอียดดังกล่าวเมื่อวันที่ 29 ต.ค. 56
2.1 การส่งเสริมความเป็นสากลของอุดมศึกษา การร่วมมือกับสหรัฐอเมริกาเพื่อส่งเสริมความเป็นสากลของอุดมศึกษาไทย สกอ. ได้ประสานเชิญศาสตราจารย์กิตติคุณและผู้เชี่ยวชาญจากสหรัฐอเมริกามาประชุมหารือและแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับสกอ. และสถาบันอุดมศึกษาไทยเกี่ยวกับความเป็นสากลของอุดมศึกษา และได้มีการจัดทำคู่มือกรอบการพัฒนาความเป็นสากลของอุดมศึกษาไทย (Creating an Internationalization Framework: A Manual for Thai Colleges and Universities)
2.2 กรอบความร่วมมือAsia-Europe Meeting of Ministers for Education (ASEMME) สกอ. ได้ตอบรับเข้าร่วมการดำเนินงานซึ่งเป็นข้อริเริ่มใหม่ ดังนี้ การจัดตั้งกลุ่มผู้เชี่ยวชาญเพื่อร่วมกันสร้างกลไกการถ่ายโอนหน่วยกิตระหว่างภูมิภาค โครงการ ASEM Work Placement Pilot Program
การปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานที่กำกับดูแลด้านการศึกษาของต่างประเทศการปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานที่กำกับดูแลด้านการศึกษาของต่างประเทศ มาเลเซีย ฝรั่งเศส Ministry of Education Ministry of Education Ministry of Higher Education and Research Ministry of Higher Education Ministry of National Education, Higher Education and Research Ministry of Education