1 / 49

Respiration happens through the mouth, lungs, trachea, nose, and diaphragm.

The respiratory system’s primary job is to supply the blood with oxygen and nutrients in order for the blood to deliver these necessities to all parts of the body. This process is made by breathing. We inhale oxygen and exhale carbon dioxide when we breathe.

igor-guerra
Download Presentation

Respiration happens through the mouth, lungs, trachea, nose, and diaphragm.

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. The respiratory system’s primary job is to supply the blood with oxygen and nutrients in order for the blood to deliver these necessities to all parts of the body. • This process is made by breathing. • We inhale oxygen and exhale carbon dioxide when we breathe. • This is the way the respiratory system gets oxygen to the blood.

  2. Respiration happens through the mouth, lungs, trachea, nose, and diaphragm. • The mouth and nose are the openings that let oxygen into the respiratory system.

  3. After, the oxygen is then passed into the larynx (voice box) and trachea. The trachea is a tube that enters the chest cavity, and the larynx (voice box) is where speech sounds are made. • When the trachea is in the chest cavity, it splits into two smaller tubes that are called Bronchi. Then, the two bronchi are split again, forming the bronchial tubes.

  4. After, the bronchial tubes head toward the lungs where they are again split into many smaller tubes when they reach the lungs.

  5. The smaller bronchial tubes then connect to very small sacs called alveoli. About 600 million of these tiny, air-filled sacs that are surrounded by capillaries are the average capacity from the lungs of an adult.

  6. The alveoli diffuse through capillaries into the arterial blood when inhaling oxygen. • Meanwhile, the waste blood releases it’s carbon dioxide into the alveoli. This waste blood is from the veins. When you exhale, the carbon dioxide follows the same path out of the lungs.

  7. นั่นสิ... เราเอาออกซิเจนไปทำไมตั้งแต่โตมาเราก็รู้ว่าออกซิเจนจำเป็นกับชีวิต แต่มันจำเป็นยังไงล่ะ  เราสูดเอาๆ ออกซิเจนเข้าไปทุกวันโดยที่ไม่รู้ว่าเอาไปทำไม  เราโดนร่างกายหลอกหรือเปล่า มันบอกให้หายใจก็หายใจอย่างนั้นหรือ • มาลองตอบคำถามอีกข้อดีกว่า  เพราะคำถามเป็นบ่อเกิดของปัญญาร่างกายเราเอาออกซิเจนไปทำไมก. เอาไปช่วยให้เลือดไหลเวียนในร่างกายได้ข. เอาไปช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโตค. เอาไปช่วยสร้างเซลล์สืบพันธุ์ง. เอาไปช่วยในการสร้างพลังงาน

  8. เฉลยคือข้อ ง. เป็นคำตอบที่ถูกที่สุด • (แต่ถ้าอ่านจบแล้ว คุณจะรู้ว่าคำตอบข้ออื่นก็ถูกเหมือนกัน)  ใช่แล้วเราหายใจเพื่อเอาออกซิเจนไปใช้ในการสลายสารอาหาร เพื่อสร้างพลังงานขึ้นมา   (จำไว้! ออกสอบชัวร์)

  9. คาร์โบไฮเดรต แหล่งพลังงานชั้นยอดอาหารที่ให้พลังงานมากที่สุดก็คือ คาร์โบไฮเดรต ซึ่งได้แก่ แป้งหรือน้ำตาล  จะถูกย่อยเป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวชนิดหนึ่งที่เรียกว่า  กลูโคส (glucose)  • หมายเหตุ โมเลกุลคือ ส่วนที่เล็กที่สุดของสารที่ดำรงอยู่ได้ตามลำพัง

  10. กลูโคสจะถูกดูดซึมผ่านผนังลำไส้เล็กเข้าสู่หลอดเลือด เพื่อลำเลียงไปยังเซลล์ต่างๆ ทั่วร่างกาย  แต่เจ้ากลูโคสนี้ก็ยังไม่สามารถให้พลังงานแก่ร่างกายได้โดยตรง มันต้องแปลงร่างเป็นเจ้าสิ่งที่เรียกว่า ATPก่อน • พลังงานที่ร่างกายเราใช้อยู่ในรูปโมเลกุลที่เรียกว่า ATP 

  11. ATP ย่อมาจากadenosine triphosphateเป็นโมเลกุลที่ให้พลังงานในร่างกายเรา และเมื่อร่างกายจะใช้ ATP มันจะแตกตัวเป็น ADP (adenosine diphosphate) แล้วปล่อยพลังงานออกมาATP ถูกสร้างมาเพื่อเป็นแหล่งพลังงานในทุกกิจกรรมทั้งในร่มและนอกร่ม ทั้งกิน เดิน วิ่ง   คิด คุย เตะบอล เล่น Hi5 ก่อม็อบ เรียกได้ว่าทุกการกระทำของเราใช้ ATP  ทั้งสิ้น

  12. ไม่ว่าคุณจะเตะฟุตบอล ประท้วง เขียนบล็อก หรือร้องไห้เพราะอกหัก คุณก็ใช้ ATP ทั้งสิ้น

  13. กลูโคสจะถูกเปลี่ยนเป็น ATP ด้วยกระบวนการที่ซับซ้อนมาก  โดยในขั้นตอนหนึ่งจะ ออกซิเจน เข้ามาร่วมด้วย ออกซิเจนนี่เองทำให้เกิด ATP จำนวนมาก ดังนั้นมันจึงเป็นตัวช่วยให้เกิดพลังงานในร่างกายเรานี่เอง  สรุปง่ายๆ ว่า กลูโคส + ออกซิเจน = พลังงาน

  14. การเดินทางของออกซิเจน

  15. แม้แต่เซลล์ก็ยังหายใจแม้แต่เซลล์ก็ยังหายใจ • ออกซิเจนที่เดินทางจากจมูกจะเข้าสู่หลอดลม เข้าแขนงหลอดลมที่แยกย่อยเข้าไปในปอด และเข้าสู่ถุงลมเล็กๆ จำนวนมหาศาลในปอด  ที่ถุงลมจะมีเส้นเลือดฝอย ซึ่งภายในก็จะมีเม็ดเลือดแดงมารับออกซิเจน เพื่อลำเลียงไปยังเซลล์ทั่วร่างกาย ผ่านทางหลอดเลือดต่างๆ  และออกซิเจนก็จะรวมกับกลูโคสในเซลล์ เกิดการสร้าง ATP • เราเรียกกระบวนการนี้ว่าการหายใจระดับเซลล์ (internal respiratory)ซึ่งผลผลิตจากกระบวนการย่อยอาหารจะมาทำปฏิกิรยากับออกซิเจนจากกระบวนการหายใจที่เซลล์  เพื่อสร้างพลังงาน (ATP) ออกมา

  16. ขั้นตอนที่1 ไกลโคไลซิสเมื่อกลูโคสเดินทางเข้ามาในเซลล์ จะเกิดกระบวนการหนึ่งที่เรียกว่าไกลโคไลซิส (Glycolysis)หรือระบวนการสลายกลูโคส ซึ่งจะเปลี่ยนกลูโคสเป็นโมเลกุลชนิดหนึ่งที่เรียกว่า ไพรูเวต (pyruvate)ขั้นตอนนี้จะมีพลังงานเกิดขึ้น  2 ATP

  17. ขั้นตอนที่ 2 การออกซิไดซ์ไพรูเวตเมื่อเป็นภาวะที่มีออกซิเจน กรดไพรูเวตจะถูกเปลี่ยนเป็นโมเลกุลที่เรียว่า Acetyl-CoA อ่านว่า (อะซีทิล โคเอนไซม์เอ) • สำหรับโปรตีนและไขมันที่เป็นสารอาหารให้พลังงานเหมือนกันจะถูกย่อยจนเป็นโมเลกุลเล็กๆ จนในที่สุดก็กลายเป็นไพรูเวตและ Acetyl-CoA และเข้าสู่วัฏจักรเครบส์เช่นเดียวกับคาร์โบไฮเดรต เพื่อสร้าง ATP แต่ถ้าเทียบกันแล้ว คาร์โบไฮเดรตจะให้พลังงานสูงกว่า

  18. ขั้นตอนที่ 3 วัฏจักรเครบส์Acetyl-CoA จะเดินทางเข้าไปในไมโทคอนเดรีย (mitochondrea)ซึ่งเปรียบเสมือนอวัยวะหนึ่งในเซลล์ และที่ไมโทคอนเดรียนี่เองจะเป็นแหล่งผลิตพลังงานทั้งหมด เปรียบได้ดังโรงไฟฟ้าของเซลล์ 

  19. ขั้นตอนที่ 3 ต่อAcetyl-COA จะเข้าสู่วัฏจักรเครบส์  (Crebs cycle) จะผ่านกระบวนการยุ่งยาก จนได้โมเลกุลที่เรียกว่า NADHกับ FADH2 ซึ่งเป็นสารที่มีอิเล็กตรอนพลังงานสูง ขั้นตอนนี้จะได้พลังงาน 2 ATP • ในขั้นตอนนี้จะเกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาด้วย  ดังนั้นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เราหายใจออกมาก็เกิดขึ้นจากวัฏจักรเครบส์นี่เอง ซึ่งเม็ดเลือดแดงก็จะมาลำเลียงออกมาทางหลอดเลือด ไปยังปอด และหายใจออกมาสวนทางกับออกซิเจน

  20. ขั้นตอนที่ 4 การถ่ายทอดอิเล็กตรอนNADH กับ FADH2 จากขั้นที่แล้วจะเข้าสู่ขั้นตอนที่เรียกว่าการถ่ายทอดอิเล็กตรอน (Electron transport chain)  NADH กับ FADH2จะมีอิเล็กตรอนพลังงานสูง • อิเล็กตรอนนี้จะถูกส่งไปยังตัวส่งผ่านอิเล็กตรอนที่เยื่อหุ้มไมโทคอนเดรีย ระหว่างนั้นอิเล็กตรอนก็จะปลดปล่อยพลังงานออกมาเรื่อยๆ โดยมีตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้ายที่มีคุณสมบัติเหมาะสมสุดๆ นั่นคือ ออกซิเจน   • ดังนั้นหน้าที่ของออกซิเจนคือเป็นตัวรับอิเล็กตรอน (เพราะถ้าไม่รับอิเล็กตรอนก็จะไม่ถูกถ่ายทอด พลังงานก็จะไม่เกิด)  ระหว่างที่เกิดการส่งต่ออิเล็กตรอนนี้เองก็จะมีกระบวนการหลายอย่างเพื่อสร้าง ATP ขึ้นมา  และเมื่อออกซิเจนรับอิเล็กตรอน มันก็จะกลายเป็นน้ำ (เพราะ O2+4H+ = 2H2O)

  21. สรุปกระบวนการหายใจระดับเซลล์ได้ว่า กลูโคส + ออกซิเจน = พลังงาน (ATP) + คาร์บอนไดออกไซด์ + น้ำ

  22. Alveoli in the lungภาพ นี้เป็นภาพของถุงลมภายในปอดของเรา ที่ทำหน้าที่ฟอกโลหิต ถ่ายเท oxygen เข้าสู่ร่างกายและนำ carbon dioxide ออกจากร่างกาย ผ่านทางลมหายใจ

  23. Lung Cancer Cellsภาพนี้เป็นภาพของ Cell มะเร็งภายในปอด

  24. การหายใจเข้าและหายใจออก     การหายใจเข้าและหายใจออกเกิดจากการทำงานของกล้ามเนื้อกะบังลมและกล้ามยึดกระดูกซี่โครง     การหายใจเข้า   กล้ามเนื้อกะบังลมหดตัวและกล้ามเนื้อยึดกระดูกซี่โครงดึงกระดูกซี่โครงให้ยกตัวขึ้น ปริมาตรของช่องอกที่เพิ่มขึ้น ทำให้ความดัน ในช่องอกลดลง ส่งผลให้อากาศจากภายนอกเคลื่อนที่เข้าสู่ปอด    การหายใจออก  กล้ามเนื้อกะบังลมคลายตัวจะยกตัวสูงขึ้น เป็นจังหวะเดียวกับกระดูกซี่โครงลดต่ำลง ทำให้ปริมาตรในช่องอกลดลง ความดัน เพิ่มขึ้น มากกว่าความดันของอากาศภายนอก อากาศจึงเคลื่อนที่ออกจากปอด

  25. ความจุอากาศของปอด    ความจุอากาศของปอดในแต่ละคนจะแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับ 1.   เพศ   เพศชายจะมีความจุปอดมากกว่าเพศหญิง 2.  สภาพร่างกาย   นักกีฬามีความจุของปอดมากกว่าคนปกติ 3.  อายุ   ผู้สูงอายุจะมีความจุปอดลดลง4. โรคที่เกิดกับปอด  โรคบางชนิด เช่นถุงลมโป่งพอง โรคมะเร็งจะทำให้มีความจุปอด ลดลง

  26. ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดอัตราการหายใจเข้าและการหายใจออกที่สำคัญประการหนึ่ง คือ ความเข้มข้นของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด เช่น ในขณะ ที่เรากลั้นหายใจ ความเข้มข้นของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ในเลือดจะสูงขึ้น        •  ซึ่งความเข้มข้นที่เพิ่มขึ้นนี้จะไปกระตุ้นการทำงานของร่างกายให้เกิดการหายใจขึ้นจนได้ • ในขณะที่นอนหลับร่างกายจะถูกกระตุ้นน้อยลง จึงทำให้การหายใจเป็นไปอย่างช้าความเข้มข้น ของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ในเลือดที่มีมากเกินไป เป็นอีกสาเหตุ หนึ่งที่ทำให้เกิดอาการหาว ซึ่งการหาวที่เกิดขึ้นนั้นก็เพื่อ เป็นการขับ เอาแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ ที่สะสมอยู่มากเกินไปออกจากร่างกาย

  27. ข้อมูลน่ารู้ขณะที่คุณกำลังหายใจ1. สิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องหายใจ แต่บางชนิดอาจมีรูปแบบต่างกับเรา เช่น แบคทีเรีย พืช หรือสัตว์ชั้นต่ำ และสิ่งมีชีวิตบางชนิดสามารถหายใจในภาวะไม่มีออกซิเจนได้2. ที่ว่ามนุษย์หายใจเออกเป็นคาร์บอนไดออกไซด์ ที่จริงแล้วมีออกซิเจนออกมาด้วย แถมออกซิเจนออกมาเยอะกว่าอีก  เพียงแต่ลมหายใจออกของเรามีคาร์บอนไดออกไซด์มากกว่าลมหายใจเข้าเท่านั้นเอง มีอัตราส่วนดังนี้ หายใจเข้า  ออกซิเจน 20.92%  คาร์บอนไดออกไซด์ 0.03% ไนโตรเจน 79.01%หายใจออก  ออกซิเจน 16.40%  คาร์บอนไดออกไซด์ 4.10%  ไนโตรเจน 79.50%

  28. 3. ร่างกายมนุษย์ไม่สามารถเก็บออกซิเจนไว้ได้ จึงต้องหายใจเข้าไปตลอดเวลา  • ส่วนแมวน้ำช้างเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่กลั้นหายใจได้นานสุด ถึง 2 ชั่วโมง4. ถ้าไม่มีออกซิเจนหรือออกซิเจนไม่เพียงพอ ร่างกายจะเปลี่ยนกลูโคสให้เป็นกรดแลกติก • ซึ่งถ้ามีมากจะไปสะสมที่กล้ามเนื้อ ทำให้กล้ามเนื้อหดเกร็ง แบบเวลาออกกำลังกายมากๆ แล้วกล้ามเนื้อล้า เพราะร่างกายเราขาดออกซิเจนนี่เอง

  29. www.oknation.net • www.bwc.ac.

More Related