1 / 34

กรมอนามัย กับการพัฒนา ระบบราชการไทย

กรมอนามัย กับการพัฒนา ระบบราชการไทย. รจนากร มีนะกนิษฐ ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร. เพื่อ ให้ระบบราชการ มีสมรรถนะสูง ในการเป็นกลไกให้ประเทศไทยมีสังคม ที่มีคุณภาพและคุณธรรม สามารถแข่งขันได้ดี ในเวทีโลก. คือ การ เปลี่ยนแปลง รูปแบบ ระบบราชการขนาน ใหญ่

igor-barber
Download Presentation

กรมอนามัย กับการพัฒนา ระบบราชการไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรมอนามัย กับการพัฒนา ระบบราชการไทย รจนากร มีนะกนิษฐ ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

  2. เพื่อ ให้ระบบราชการ มีสมรรถนะสูง ในการเป็นกลไกให้ประเทศไทยมีสังคม ที่มีคุณภาพและคุณธรรม สามารถแข่งขันได้ดี ในเวทีโลก คือ การเปลี่ยนแปลงรูปแบบ ระบบราชการขนานใหญ่ ตั้งแต่บทบาทหน้าที่ของรัฐ โครงสร้างระบบบริหาร วัฒนธรรมและค่านิยม ? การปฏิรูประบบราชการ

  3. ? ทำไมต้องปฏิรูประบบราชการ • กระแส • เรียกร้องของ ปชช. • ที่ต้องการเห็น • ขรก. ยิ้มแจ่มใสยินดีให้บริการ • โปร่งใส ไม่ทุจริต ได้รับบริการที่สะดวก รวดเร็ว ลดขั้น • ตอน ประหยัดเวลา แรงกดดัน ภายนอกจาก กระแส โลกาภิวัตน์ • กระแสการจัดการ • ภาครัฐแนวใหม่ (NPM) • New Public Management • ใช้หลักจัดการแบบเอกชน • มุ่งผลสัมฤทธิ์ แข่งขันกันเอง • ของส่วนราชการ กระจาย • อำนาจ ฯลฯ • รัฐธรรมนูญ • รัฐต้องจัดระบบงานให้ • มีประสิทธิภาพตอบ • สนองความต้องการ • ประชาชน • ปัญหาและความ • ต้องการของราชการ • ปรับโครงสร้างภายใน • เพิ่มอัตรากำลัง • งานซ้ำซ้อน

  4. “การทุจริต ประพฤติมิชอบ” “กำลังคน ไม่มีคุณภาพ ขาดแรงจูงใจ” “โครงสร้าง ที่ไม่คล่องตัว” สภาพปัญหาของ การบริหารงาน ภาครัฐ “ทัศนคติ ค่านิยม แบบดั้งเดิม” “การบริหาร แบบรวมศูนย์ อำนาจ” “ค่าตอบแทน สวัสดิการไม่เหมาะสม”

  5. การปฏิรูประบบราชการ ๒๕๔๕ 3 S = Structure Services Size หน่วยงานภาครัฐ จะต้อง มีโครงสร้างที่กระชับ เหมาะสมกับสถานการณ์ มีบทบาทภารกิจที่รับผิดชอบชัดเจน ไม่มีความซ้ำซ้อน มุ่งผลสัมฤทธิ์ต่อความต้องการที่หลากหลายของประชาชน ตอบสนองต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

  6. กระบวนการปฏิรูประบบราชการกระบวนการปฏิรูประบบราชการ ปรับรื้อโครงสร้าง วางระบบงานสมัยใหม่ สร้างวัฒนธรรมทำงานเชิงรุก • กำหนดยุทธศาสตร์/เป้าหมาย • จัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ • ประเมินผลเพื่อให้รางวัลแรงจูงใจ • จัดระบบบริหารงานการคลังภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) • พัฒนาคุณภาพการบริการประชาชนที่ดีขึ้น ด้วยการลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ • ปรับเปลี่ยนให้หน่วยงานในส่วนกลางมีขนาดเล็กลง • ปรับปรุงโครงสร้าง และพัฒนาระบบการบริหารราชการในส่วนภูมิภาค และในต่างประเทศแบบ บูรณาการ • ส่งเสริม/แปรสภาพกิจกรรม/ การดำเนินการบางอย่างเป็นองค์กรมหาชน/ SDU • E-service • ศูนย์บริการร่วม • เคาน์เตอร์บริการ ปชช. • Call Center 1111 • หน่วยบริการเคลื่อนที่ • สร้างจิตสำนึกให้บริการ • เปิดโอกาสให้ประชาชนมี ส่วนร่วม • มอบอำนาจการตัดสินใจ

  7. คัมภีร์ปฏิรูประบบราชการคัมภีร์ปฏิรูประบบราชการ 1. การจัดส่วนราชการใหม่ พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545 พ.ร.บ.ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.2545 2. การกำหนดวิธีการปฏิบัติราชการ ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ.2546-2550 พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546

  8. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) ธรรมาภิบาล (ธรรม + อภิบาล) มาจากภาษาอังกฤษว่า Good Governance • วิธีการที่ดีในการใช้อำนาจเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรในองค์การ • การวางระบบและกลไกเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล • ในด้านตัวบุคคล เป็นเรื่องการสร้างจิตสำนึกในเรื่องคุณธรรมและ จริยธรรม เน้นการวางระบบเพื่อควบคุมให้คนไม่ประพฤติปฏิบัติ ในสิ่งที่ไม่ดีและให้ทำตามมาตรฐานที่ดี อ้างอิง : ศาตราจารย์ ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ เลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า รศ.ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ เลขาธิการ ก.พ.ร.

  9. ? ประโยชน์ที่จะได้รับจากพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และ วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 รัฐจะสามารถกำหนดนโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานในแต่ละปีที่ชัดเจน และมีกลไกที่จะพัฒนาองค์การของภาครัฐให้มีประสิทธิภาพ ส่วนราชการและข้าราชการ จะมีแนวทางในการปฏิบัติราชการที่เป็นมาตรฐานที่ชัดเจน มีความโปร่งใส สามารถวัดผลการดำเนินงานได้ ประชาชนจะได้รับการบริการที่รวดเร็ว สามารถตรวจสอบการดำเนินงานได้ และมีส่วนร่วมในการบริหารงานภาครัฐ ทำไมต้องปฏิรูประบบราชการ

  10. ? พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และ วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 เป้าหมาย การบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี ทำไมต้องปฏิรูประบบราชการ เกิดประโยชน์สุขของ ประชาชน มีการประเมินผล การปฏิบัติ ราชการอย่างสม่ำเสมอ เกิดผลสัมฤทธิ์ ต่อภารกิจของรัฐ ประชาชนได้รับ การอำนวยความสะดวก และได้รับการตอบสนอง ความต้องการ มีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่า ในเชิงภารกิจของรัฐ ปรับปรุงภารกิจ ของส่วนราชการ ให้ทันต่อเหตุการณ์ ลดขั้นตอน การปฏิบัติงาน

  11. พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545 ส่วนที่ 4 คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ มาตรา 71/1 ให้มีคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการคณะหนึ่งเรียกโดยย่อว่า“ก.พ.ร.” มาตรา 71/9 ให้มีสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการขึ้นเป็นส่วนราชการในสำนักนายกรัฐมนตรี ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี

  12. อำนาจ หน้าที่ของ ก.พ.ร. เสนอแนะ ให้ความเห็น และให้คำปรึกษา แก่คณะรัฐมนตรี เกี่ยวกับ ชี้แจงทำความเข้าใจแก่ส่วนราชการ&เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง และประชาชนทั่วไปรวมตลอดทั้งการฝึกอบรม - การพัฒนาระบบราชการและวิธีปฏิบัติราชการ ให้เป็นไปตามมาตรา 3/1 - กำหนดหลักเกณฑ์และมาตรฐาน การแบ่งส่วนราชการภายในของกระทรวง ทบวง กรม - ตราพระราชกฤษฎีกา และ กฎ ตาม พรบ.นี้ - ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้ บังคับกฎหมาย และกำหนดแนวทางปฏิบัติ - ติดตาม ประเมินผล/ รายงาน เสนอแนะให้คำปรึกษา แก่หน่วยงานอื่นของรัฐ ที่มิได้อยู่ในกำกับของราชการฝ่ายบริหารตามที่หน่วยงานดังกล่าวร้องขอ

  13. กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย มติ ก.พ. ที่ นร 1009.4/23 ลงวันที่ 10 ตุลาคม 2545 ให้ส่วนราชการจัดตั้ง “กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร” ขึ้นเป็นหน่วยงานภายใน เรียกโดยย่อว่า “กพร.” บทบาท 1. เป็นผู้วางแผนการบริหารการเปลี่ยนแปลง2. เป็นผู้ให้คำปรึกษา แนะนำเกี่ยวกับการพัฒนาการบริหารงาน3. เป็นผู้ประสานงาน/ผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลง4. เป็นผู้กำกับ ติดตามและประเมินผลการพัฒนาระบบราชการ

  14. เข้าใจให้ตรงกัน = ก.พ.ร. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ เรียกกันง่ายๆ ว่า “สำนักงาน ก.พ.ร.” อย่าเรียกผิดนะจ๊ะ = กพร. กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ของกรมอนามัย

  15. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย แผนฯ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 46-50 (ร่าง)แผนฯ ฉบับที่ 3 พ.ศ. 56-60 แผนฯ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 51-55

  16. แนวทางการปฏิบัติของทุกส่วนราชการแนวทางการปฏิบัติของทุกส่วนราชการ ประเมินผล คณะบุคคลภายนอก ก.พ.ร.รายงาน ค.ร.ม. กำหนด KPI คำรับรองปฏิบัติราชการ เพิ่มคุณภาพ เพิ่มผลิตภาพ รางวัล องค์กรและบุคลากรในองค์กร ลดค่าใช้จ่าย บทลงโทษ

  17. ? แล้วกรมอนามัยทำอะไรบ้าง

  18. ปี 47-49 ยุคเริ่มต้นวางรากฐาน 1. วางกรอบคำรับรอง / เกณฑ์การประเมินผล / เกณฑ์การจัดสรรเงินรางวัลให้มีความชัดเจนทั้งในระดับกรม และ ระดับหน่วยงานย่อย 2. สร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในกรมอนามัย 3. สื่อสารและทำความเข้าใจบุคลากรของกรมอนามัย 4. สร้างความเป็นเอกภาพในการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบราชการ และเน้นการประสานงานระหว่างคณะกรรมการที่สัมพันธ์กัน 5. สร้างความเข้มแข็งให้กับเครือข่าย กพร. ประจำหน่วยงานย่อย

  19. ตัวอย่าง กลไกการพัฒนาการปฏิบัติราชการกรมอนามัย ในรูปแบบ คกก.กพร.กรม ปี 47 ข้อเสนอแนวทาง การปฏิบัติราชการ ปี 2547 กรมอนามัย CCO.คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย (เลขานุการ) สำนัก/กอง/ศูนย์ สำนัก/กอง/ศูนย์ สำนัก/กอง/ศูนย์ กพร.กรมอนามัย คณะทำงานติดตาม กำกับฯ เครือข่าย กพร. หน่วยงานละ 2 คน คณะที่ 1 คณะที่ 2 คณะที่ 3 คณะที่ 4 1,3,7.1.1,7.1.2 2, 4 5, 6  7.1.3

  20. ปี50-51 ใช้ PMQA ขับเคลื่อนกรมอนามัย 1. ใช้ระบบการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) เป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนงานพัฒนาระบบราชการของกรมอนามัย (เปลี่ยน TQM เป็น PMQA) 2. ผลักดันให้เกิดการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map )ในระดับกรมและระดับหน่วยงานย่อยทุกหน่วยงาน 3. ส่งเสริมและพัฒนาทักษะเพื่อให้เกิดความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่สำคัญของบุคลากร เช่น แต่งตั้งคณะที่ปรึกษา PMQA ในแต่ละหมวด (Fast Track) 4. บูรณาการการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์กรม คำรับรองฯ และ PMQA เข้าด้วยกัน 5. เน้นประเมินตัวชี้วัดเฉพาะหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ไม่ประเมินแบบเหมารวมทุกหน่วยงาน เช่น การลดขั้นตอน การประเมินความพึงพอใจ 6. จัดทำและสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่พึงประสงค์ของกรมอนามัย (H E A L T H)

  21. ตัวอย่าง การใช้ PMQA เป็นกลไกหลักขับเคลื่อนงานพัฒนาระบบราชการของกรม ปี 50

  22. ปี 52-55 พัฒนาระบบงานก่อเกิดคุณภาพ 1. รวบรวมภารกิจ พัฒนาเป็น “ระบบงาน” และจัดทำมาตรฐานภายใต้ PMQA ทั้ง 6 หมวด 2. สื่อสารทำความเข้าใจเกี่ยวกับบูรณาการ Matrix ระหว่าง PMQA กับประเด็นยุทธศาสตร์ 3. ดำเนินงานตามเกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน (Fundamental Level ) เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้องค์กร ปีละ 2 หมวด โดยกำหนดเจ้าภาพหลักรับผิดชอบ

  23. ? ใครสงสัยเชิญถาม เกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการ

  24. กระทรวงสาธารณสุข กับบริบทที่เปลี่ยนแปลงไป

  25. กรมอนามัยภายใต้ 11 บทบาทของ กสธ. - เห็นด้วยกับบทบาทของ สธ. ในการเป็น National Health Authority ที่ต้องมองปัญหาสุขภาพของประเทศ - เน้นบทบาทเป็นผู้กำหนดนโยบายและกำกับดูแล (Regulatory) กำหนดมาตรฐานต่างๆ เพื่อให้ทำหน้าที่เป็น National Health Authority ได้จริง รวมถึงการบังคับใช้กฏหมาย • ปรับบทบาทใหม่ บริหารจัดการคนเพื่อสนับสนุนเขตสุขภาพ รวมทั้งต้องพัฒนาศักยภาพเพื่อให้รับบทบาทใหม่ เช่น การบริหารจัดการระบบ การสื่อสารนโยบายเพื่อนำไปปฏิบัติ • การติดตามประเมินผล - ที่ผ่านมามีคณะกรรมการระดับชาติจำนวนมากที่ไม่สามารถเป็นกลไกที่มีประสิทธิผล ดังนั้นเพื่อให้กลไกนี้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิผล จำเป็นต้องมีกลไกเลขานุการที่มีประสิทธิภาพ มีระบบข้อมูลที่ดีเพื่อใช้ในการตัดสินใจในการกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ ตลอดจนบริหารยุทธศาสตร์ให้ได้ภาพที่พึงประสงค์

  26. เตรียมพบกับ เร็วๆ นี้

  27. สวัสดี

More Related