1 / 24

ธนาคารโลก ธนาคารความรู้ (World Bank)

ธนาคารโลก ธนาคารความรู้ (World Bank). Knowledge Sharing. http :// www . worldbank . org / ks /. การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ที่เกิดขึ้นในธนาคารโลก.

idola
Download Presentation

ธนาคารโลก ธนาคารความรู้ (World Bank)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ธนาคารโลก ธนาคารความรู้(World Bank) Knowledge Sharing http://www.worldbank.org/ks/

  2. การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ที่เกิดขึ้นในธนาคารโลก • ในปี ค.ศ. 1996 เมื่อประธานธนาคารโลกที่ชื่อ James Wolfensohn ได้ “ปฏิวัติ” หลักคิดเกี่ยวกับพันธะกิจ และบทบาทของธนาคารใหม่ให้กลมกลืนกับยุคเศรษฐกิจใหม่ (New Economy) โดยได้มองเห็นว่าแท้จริงแล้วจุดแข็งหรือสินทรัพย์ (Asset) ของธนาคาร หาใช่การเป็น “แหล่งเงิน” เหมือนที่เคยเข้าใจกันมาแต่ในอดีต ทั้งนี้เนื่องจากธนาคารได้มีโอกาสเข้าไปมีส่วนร่วมพัฒนาโครงการต่างๆ ทั่วโลก ทำให้ ธนาคารมีสินทรัพย์เชิงความรู้ (Knowledge Asset) อยู่มากมายมหาศาล

  3. สิ่งที่ส่งผลให้เกิดองค์ความรู้ - สู่การสร้าง KM

  4. การเข้ามีส่วนร่วม • การเข้ามีส่วนร่วมในการพิจารณาแผน จัดทำ TOR (Term of Reference) ตั้งเกณฑ์และดำเนินการประเมินและมีการรวบรวมข้อมูลต่างๆ มากมายก่อนตัดสินใจให้การสนับสนุนด้านการเงิน ****ส่งผลให้ **** • เป็นแหล่งความรู้ด้านการพัฒนาโครงการและด้านเศรษฐกิจ • ส่งผลให้ประธานธนาคารได้เปลี่ยนวิสัยทัศน์ของธนาคารใหม่ จากภาพของการเป็นสถาบันการเงิน ไปสู่ภาพใหม่ของการเป็น “ธนาคารแห่งความรู้”

  5. การทำงานของธนาคารที่เคยมุ่งเน้นแต่การให้เงินและให้คำปรึกษา ได้ปรับเปลี่ยนมาให้ความสำคัญกับ การพัฒนาศักยภาพด้านการสร้างสรรค์ (Creation) การแบ่งปันความรู้ การประยุกต์ใช้ความรู้แทน

  6. through Economic and Sector Work research evaluation with our clients, partners and outside world… through learning from the outside world… with staff in the organization and learning our successes from failures and through products and services… Knowledge Sharing at the World BankVision of the knowledge bank

  7. S E I C เกลียวความรู้ SECI Model • Socialization • Thematic Groups (communities of practice) • Indigenous Knowledge • Externalization • Advisory Services (help desk facilities) • Development Forum - B-SPAN • Dissemination (formal/informal learning) • Combination • Sector Knowledge Collections (Web) • Debriefing (tacit knowledge download) • Knowledge Manager • Internalization • World Bank Institute

  8. ผู้จัดการความรู้ (Knowledge Manager) ทำหน้าที่ • ดูแล ประสาน เอื้ออำนวย กระตุ้น และส่งเสริมให้เกิดบรรยากาศที่เอื้อต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วัฒนธรรมการทำงาน ระบบงาน และโครงสร้างส่วนใดที่เห็นว่าเป็นอุปสรรคต่อการสื่อสารและการแบ่งปันความรู้ จะถูกปรับใหม่ให้เข้ากับวิถีคิดแบบ Knowledge Management (KM)

  9. Knowledge Sharing at the World BankCommunities of practice • Organized by sector or across sectors • Support core Bank functions • Funded by Sector Boards and accountable to them • Rely extensively on knowledge partnerships • Use a broad range of technology Thematic Groups are the core of the Bank Knowledge Management System. They have developed very fast over the last 5 years. There are now more than 80 Thematic Groups. throughout the Bank.

  10. Regions South Asia Africa East Asian& Pacific Central Asia Latin America & Caribbean Middle East and North Africa Sectors Task Teams Environment Human Development Thematic Groups Private Sector & Infrastructure Operation Core Services Poverty Reduction Knowledge Sharing at the World BankOrganization Task Teams and Thematic Groups

  11. Knowledge and InnovationClient communities of practice http://ayudaurbana.com/index.htm

  12. Global Knowledge, Local Adaptation Capturing tacit knowledge

  13. Global Knowledge, Local AdaptationTapping into client knowledge

  14. Global Knowledge, Local AdaptationBrokering global knowledge http://www.developmentgateway.org

  15. Knowledge and InnovationDevelopment Marketplace http://www.developmentmarketplace.org

  16. Knowledge and InnovationGlobal Distance Distance Learning Network http://www.gdln.org

  17. Knowledge and InnovationWebcasting for development http://www.worldbank.org/wbi/B-SPAN/

  18. Concluding Remarks:A shift in development paradigm Within the Bank: • Continued emphasis on Knowledge Communities. • A new Staff Learning Framework. • Cutting edge technology to support knowledge & learning. Within Client Countries: • Creating multiple knowledge flows. • Empowering through access to knowledge. • Developing communities of learners. • Building strong knowledge partnerships.

  19. ตัวอย่าง ศูนย์รวมความรู้ ในประเทศไทย • ศูนย์ข้อมูล InfoServคือศูนย์บริการข้อมูลเพื่อการพัฒนาแห่งธนาคารโลก (InfoServ) ทำหน้าที่เผยแพร่ข้อมูลของ โครงการ กิจกรรม และสารสนเทศในประเด็นต่างๆ ของธนาคารสู่สาธารณชนในประเทศสมาชิกซึ่งมีการดำเนินการตามนโยบายการเปิดเผยข้อมูลของธนาคารโลก เพื่อให้ผู้ที่สนใจทุกคนสามารถเข้าถึงข้อมูลต่างๆของธนาคารโลกได้สะดวกและมีประสิทธิภาพ • ธนาคารโลกมุ่งมั่นที่จะเผยแพร่ข้อมูลต่างๆไปสู่ประชาคมในประเทศสมาชิก ให้ได้อย่างกว้างขวางมากขึ้น โดยการทำงานในเชิงรุกเพื่อให้มีความเข้าใจในบทบาทของธนาคารโลก และเป็นประโยชน์ต่อสังคมในด้านการแบ่งปันความรู้และข่าวสาร

  20. คุณสามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างไร ? • สามารถดาวน์โหลดและพิมพ์ได้จากเว็บไซด์ของธนาคารคือhttp://www.worldbank.org/ks/ • เอกสารต่างๆ ซึ่งมีทั้งเอกสารภาษาไทย เขมร ลาว บางส่วนก็เป็นเอกสารที่แจกฟรีตามธนาคารต่าง • InfoServ ซึ่งดำเนินการโดยเจ้าหน้าที่ให้บริการข้อมูล Public Information Assistant ซึ่งยินดีให้บริการในการค้นคว้าวิจัย

  21. InfoServ มีอะไรน่าสนใจ ? InfoServ ให้บริการข้อมูลโครงการในประเทศไทย กัมพูชา ลาว มาเลเซีย และพม่า นอกจากนี้ยังมีรายงานและสิ่งพิมพ์ที่สำคัญอื่นๆ ได้แก่ • เอกสารข้อมูลโครงการ(Project Information Documents - PIDs) • เอกสารประเมินโครงการ(Project Appraisal Documents - PADs) • รายงานด้านเศรษฐกิจEconomic Sector Reports • การประเมินสิ่งแวดล้อม(Environmental Assessment - EAs) • ข้อตกลงในการกู้ยืม(Loan or Development Credit Agreement) • เอกสารการประกวดราคาและที่ปรึกษา(Bidding and consultant documents) • UN Development Business

  22. InfoServ ประเทศไทยให้บริการอินเตอร์เนตโดยไม่คิดค่าใช้จ่ายแก่ผู้ใช้รวมทั้งบริการสืบค้นข้อมูลที่สามารถดาวน์โหลดสิ่งพิมพ์ของธนาคารได้ • สามารถ sign up เพื่อรับข่าวสารผ่านอีเมลล์อย่างสม่ำเสมอ • นอกจากเอกสารด้านการจัดการแล้ว  InfoServ ยังมีสิ่งพิมพ์จำนวนหนึ่งและสิ่งพิมพ์พิเศษให้บริการเอกสารบางส่วนแจกให้ฟรีแก่ผู้สนใจ • นอกจาก InfoServ แล้ว ยังมีหน่วยงานอื่นๆ ที่ให้บริการข้อมูลข่าวสารเพื่อการพัฒนาของธนาคารโลกได้แก่ • ห้องสมุดสาขา (Depository libraries) ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ร่วมกันให้บริการสิ่งพิมพ์ของธนาคารโลก • ตัวแทนจำหน่ายหนังสือในประเทศ

  23. บทสรุป • ความรู้เหล่านี้เป็นสิ่งที่หาไม่ได้ในการฝึกอบรม เป็นความรู้ที่ไม่ได้อยู่ในคู่มือการปฏิบัติงาน หรือในตำราวิชาการ • จากที่เคยเป็นผู้ที่มีทั้ง “เงิน” และ “คำแนะนำ” ไปสู่สถานภาพใหม่ที่เน้นการส่งเสริมช่วยเหลือและผลักดันโครงการบนพื้นฐานแห่งความไว้เนื้อเชื่อใจเป็นหลัก

More Related