1 / 26

ระบบห้องสมุดเพื่อการพึ่งพาตนเองทางเทคโนโลยี

ระบบห้องสมุดเพื่อการพึ่งพาตนเองทางเทคโนโลยี. “ Jindamanee ” open source integrated library system. ถิรนันท์ ดำรงค์สอน อภิยศ เหรียญวิพัฒน์ ดลนภา แว่วศรี สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ระบบห้องสมุดจินดามณี. ระบบห้องสมุด อัตโนมัติ แบบเปิดเผยรหัสของไทย พัฒนาต่อยอดมาจากระบบ Koha

idania
Download Presentation

ระบบห้องสมุดเพื่อการพึ่งพาตนเองทางเทคโนโลยี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบห้องสมุดเพื่อการพึ่งพาตนเองทางเทคโนโลยีระบบห้องสมุดเพื่อการพึ่งพาตนเองทางเทคโนโลยี “Jindamanee” open source integrated library system ถิรนันท์ ดำรงค์สอน อภิยศ เหรียญวิพัฒน์ ดลนภา แว่วศรีสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  2. ระบบห้องสมุดจินดามณี • ระบบห้องสมุดอัตโนมัติแบบเปิดเผยรหัสของไทย • พัฒนาต่อยอดมาจากระบบKoha • เป็นซอฟต์แวร์ห้องสมุดอัตโนมัติแบบเปิดเผยรหัสระบบแรกของโลก • มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและรวดเร็ว โดยผู้พัฒนาจากทั่วโลก • มีผู้ใช้งานเป็นจำนวนมาก • ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ Koha • http://koha-community.org/ • http://wiki.koha-community.org/wiki/Main_Page • http://www.koha.org/

  3. วัตถุประสงค์ • เพื่อศึกษาเปรียบเทียบระบบห้องสมุดอัตโนมัติแบบเปิดเผยรหัสกับระบบห้องสมุดเชิงพาณิชย์ • เพื่อพัฒนาระบบและทดลองใช้ในการบริหารจัดการทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา

  4. ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ • ติดตั้งระบบ • ศึกษาและทดสอบระบบโดยรวม และระบบงานพื้นฐาน ได้แก่ OPAC, Circulation, Patrons, Cataloging และ Administration • ทดสอบถ่ายโอนข้อมูลจากระบบห้องสมุดเชิงพาณิชย์ • ศึกษาและทดสอบระบบเพิ่มเติม ได้แก่ Serials, Acquisition และ Report • ติดตั้งและทดสอบ SIP2 เชื่อมต่อสำหรับอุปกรณ์ RFID • จัดทำเอกสารคู่มือการใช้งานระบบ และจัดฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ • ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ระบบ และจัดกิจกรรม ประชุม/อบรม/สัมมนา • ประเมินผลการใช้งานระบบ • กำหนดแนวทางการพัฒนาระบบเพื่อใช้ประโยชน์ในอนาคต

  5. ผลการศึกษา สรุปจุดเด่นและข้อจำกัดของระบบ Koha

  6. ส่วนประกอบของระบบ Koha

  7. โมดูล OPAC สำหรับผู้ใช้

  8. สรุปข้อดีและข้อจำกัดของโมดูล OPAC

  9. โมดูล Admin สำหรับผู้ดูแลระบบ

  10. สรุปข้อดีและข้อจำกัดของโมดูล Administration

  11. โมดูล Cataloging

  12. สรุปข้อดีและข้อจำกัดของโมดูล Cataloging

  13. โมดูล Circulation

  14. สรุปข้อดีและข้อจำกัดของโมดูล Circulation

  15. โมดูล Patron

  16. สรุปข้อดีและข้อจำกัดของโมดูล Patron

  17. ตารางเปรียบเทียบค่าใช้จ่าย (เฉพาะค่าติดตั้งและบำรุงรักษาระบบ) ** อัตราแลกเปลี่ยน 1$ = 30 บาท ข้อมูลจากบริษัท Liblimeปี 2011 ที่มา : http://www.liblime.com/contact

  18. ปี 2549 ปี 2553 การนำไปใช้ประโยชน์ ห้องสมุด Eco library มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ห้องสมุดศูนย์ความรู้ด้านการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  19. ปี 2556 ปี 2557 การนำไปใช้ประโยชน์ ห้องสมุดมหาวิทยาลัยสะหวันนะเขต สปป.ลาว ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติ วัดปัญญานันทาราม

  20. เว็บไซต์ระบบห้องสมุดจินดามณีเว็บไซต์ระบบห้องสมุดจินดามณี http://jindamanee.lib.ku.ac.th/

  21. ตัวอย่างห้องสมุดที่ใช้ระบบ Kohaในประเทศไทย • ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • ศูนย์สารนิเทศทางอาหาร สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร • สถานีโทรทัศน์ Thai PBS • สถานีโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 7 • กรมชลประทาน • สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์

  22. ผลการประเมินความพึงพอใจการใช้ระบบห้องสมุดจินดามณี Eco-library • ผู้ตอบแบบประเมินจำนวน 123 คน • โดยภาพรวมมีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับดี ค่าเฉลี่ย 4.17 (ร้อยละ 83.44) • ประเด็นที่มีระดับความพึงพอใจสูงที่สุด 3 อันดับแรกคือ • ระบบใช้งานง่าย สะดวก และไม่ซับซ้อน ค่าเฉลี่ย 4.38 (ร้อยละ 87.64) • ระบบสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ค่าเฉลี่ย4.26 (ร้อยละ 85.20) • ความสะดวกในการใช้งาน ค่าเฉลี่ย 4.24 (ร้อยละ 84.72)

  23. คณะทำงานพัฒนาระบบห้องสมุดจินดามณีคณะทำงานพัฒนาระบบห้องสมุดจินดามณี

  24. สรุป • “ระบบจินดามณี” เป็นระบบห้องสมุดแบบเปิดเผยรหัสของไทย ที่พัฒนาต่อยอดมาจากระบบ Koha • จุดเด่นที่น่าสนใจของ Kohaคือมีฟังก์ชั่นการทำงานโมดูลต่างๆครบสมบูรณ์ สามารถพัฒนาเพิ่มเติมให้สอดคล้องกับความต้องการของแต่ละห้องสมุดได้ รองรับการทำงานของห้องสมุดตั้งแต่ขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่ • สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ศึกษาและพัฒนาระบบห้องสมุดจินดามณีขึ้น โดยทดลองใช้บริหารจัดการและให้บริการทรัพยากรในห้องสมุดศูนย์ความรู้ด้านการเกษตร ตั้งแต่ปี 2549 และติดตั้งระบบในห้องสมุด Eco library ในปี 2553 • ระบบจินดามณีสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพเทียบเท่ากับระบบห้องสมุดเชิงพาณิชย์ ดังนั้นจึงมีแผนการพัฒนาระบบห้องสมุดจินดามณีเพิ่มเติม เพื่อเป็นระบบสำรองหรือทดแทนระบบห้องสมุดเชิงพาณิชย์ต่อไปในอนาคต

  25. รายการอ้างอิง • ถิรนันท์ ดำรงค์สอน, ดลนภา แว่วศรี และอภิยศ เหรียญวิพัฒน์. (2556). “ระบบห้องสมุดจินดามณี” เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ WUNCA ครั้งที่ 26. สกลนคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติสกลนคร. • วันเพ็ญ ศรีจันทร์กุล, อารีย์ ธัญกิจจานุกิจ, ถิรนันท์ ดำรงค์สอน, วสุเทพ ขุนทอง, พุฒิพงษ์ ยองทอง, พิศิษฐ์ โสมวดี, และสุพรรณี หงษ์ทอง. (2553).การพัฒนาและประยุกต์ใช้ระบบห้องสมุดแบบเปิดเผยรหัสภาษาไทยเพื่อการพึ่งพาตนเองทางเทคโนโลยี. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. • อัศนีย์ ก่อตระกูล, สมโชค เรืองอิทธินันท์ และอารีย์ ธัญกิจจานุกิจ. (2549).การศึกษาความเป็นไปได้เชิงเทคนิคและการออกแบบเชิงสถาปัตยกรรม สำหรับการพัฒนาซอฟต์แวร์ห้องสมุดแบบเปิดเผยรหัส. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. • Brown D., Wolbers F., Usiondek N., Quigley P., & Jaccarino P. (2010). KOHA Manual. Retrieved 2011, fromhttp://koha-community.org/files/2010/02/wayne-state-university-koha-3.0-reference-manual.pdf • Liblime. (2011). LibLime is the global leader in Koha support. Retrieved 11 30, 2011, from http://www.liblime.com/contact

  26. ขอบคุณค่ะ

More Related