100 likes | 294 Views
การพัฒนาระบบการจ่ายค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน และการประเมินผล. กฤษดา แสวงดี RN.,PhD. สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (IHPP) กระทรวงสาธารณสุข. ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบค่าตอบแทน : Shift from the Total Compensation to Total Rewards. Total Compensation Salary Bonus Paid time off
E N D
การพัฒนาระบบการจ่ายค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน และการประเมินผล กฤษดา แสวงดี RN.,PhD. สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (IHPP) กระทรวงสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบค่าตอบแทน :Shift from the Total Compensation to Total Rewards • Total Compensation • Salary • Bonus • Paid time off • Life time employed • Welfare benefits
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบค่าตอบแทน :Shift from the Total Compensation to Total Rewards • Total Rewards • Indirect financial rewards • Work content • Career value • Affiliation • Direct financial rewards
ข้อเสนอ : กระบวนการทำงาน • ออกแบบกระบวนการและสร้างการมีส่วนร่วม • แต่งตั้งคณะทำงาน ประกอบด้วยผู้บริหารและเจ้าหน้าที่จากทุกส่วนงาน • ฝึกอบรม/ให้ความรู้เกี่ยวกับแนวคิดและหลักการของระบบค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน • พัฒนาระบบการสื่อสารภายในองค์กร ที่ชัดเจน ทั่วถึง • การรับฟังปัญหา/ข้อคิดเห็น • การตอบสนองต่อข้อคิดเห็น • ที่สำคัญคือ Respect to people
ข้อเสนอ : กระบวนการทำงาน 2. กำหนดขอบเขตการใช้งานของระบบค่าตอบแทน P4P • ครอบคลุม งาน หรือบุคลากรกลุ่มใดบ้าง หรือครอบคลุมทั้งหมด • ต้องคำนึงถึงการเชื่อมโยงเป้าหมายของบุคคลเข้ากับเป้าหมายขององค์กร 3.กำหนดหลักเกณฑ์เพื่อคำนวณ point และวงเงินที่จะจ่าย • องค์กรควรกำหนดมาตรฐานผลการปฏิบัติงานเพื่อเป็นเกณฑ์เปรียบเทียบผลงานของ Staff ว่าดีกว่ามาตรฐานที่กำหนด หรือไม่เพียงใด • ควรตอบแทนอย่างไร ต่อผลงานนั้น
ข้อเสนอ : กระบวนการทำงาน 4. กำหนดกระบวนการแบ่งสัดส่วนค่าตอบแทน • ผู้บริหารแต่ละระดับ • ผู้ปฏิบัติงานที่มีความรับผิดชอบต่อผลสำเร็จขององค์กรในระดับที่ต่างกัน 5.กำหนดความถี่ของการจ่ายค่าตอบแทน • รายเดือน • รายไตรมาส • รายปี 6. กำหนดระบบและกระบวนการประเมินผล
การอภิบาลระบบ กำกับและประเมินผล • ผู้บริหาร รพ. จำเป็นต้อง ประเมินสถานะทางการเงินอย่าง เพื่อบ่งชี้ความพร้อมด้านการเงิน สำหรับระบบการจ่ายค่าตอบแทน P4P และมีการประเมินสถานะทางการเงิน • มีระบบบัญชีที่ถูกต้อง โดยสามารถจัดทำงบการเงินตามระบบเกณฑ์ คงค้าง (Accrual basis) ได้ถูกต้องทันเวลา และสามารถแสดงข้อมูล งบดุล ผลการดำเนินงาน และบัญชีกระแสเงินสดทางตรงได้ • มีระบบตรวจสอบจากนักวิชาการด้านการเงินบัญชี • มีการนำข้อมูลทางการเงินไปวิเคราะห์สถานการณ์ทุก 1 – 3 เดือน ด้วยดัชนีด้านการเงินแสดงถึงความพร้อมในด้านต่าง ๆ ได้แก่ • รายรับมากกว่ารายจ่าย (I/E ratio > 1) รายรับมากกว่ารายจ่าย (I/E ratio > 1) • สภาพคล่อง ซึ่งวัดจาก Quick ratio และ Current ratio • มีผลการดำเนินงานกำไร และดัชนีประสิทธิภาพอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่สำนักงานปลัดกระทรวงกำหนด เป็นต้น
การรายงานผลการดำเนินงานในระยะแรกการรายงานผลการดำเนินงานในระยะแรก • ให้ รพ. ที่จ่ายค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน ส่งรายงานการจ่ายฯ ประจำเดือนส่งต่อมายัง สนย. สป. ผ่าน สสจ. :- • ยอดรวมงบที่ใช้การจ่ายค่าตอบแทน P4P • งบที่ใช้การจ่ายค่าตอบแทน P4P เฉลี่ยต่อจำนวนบุคลากรทั้งหมด • output indicator เช่น ค่า Case Mix Index(CMI), total RW, • ค่าตอบแทนเฉลี่ยต่อค่าคะแนนปฏิบัติงานแต่ละวิชาชีพ • เป้าหมายและตัวชี้วัดของ รพ. ที่เลือกมาเป็นเกณฑ์การคิดคะแนนผลการปฏิบัติงานด้านคุณภาพ เป็นต้น • แบบฟอร์มรายงาน ประจำเดือน ส่วนกลางจะแจ้งทางการอีกครั้ง
Monitoring and Evaluation Frameworkส่วนกลางจะดำเนินการภายใต้กรอบการวิจัยประเมินโครงการ • โรงพยาบาลมีกระบวนการดำเนินงานอย่างไร • สอดคล้องกับคู่มือหรือไม่อย่างไร • ผลลัพธ์เป็นอย่างไร • ประสิทธิผล ต่อองค์กร, ผู้รับบริการ,ผู้ให้บริการ • ประสิทธิภาพ และ • คุณภาพ • มีปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาต่อเนื่องอย่างไร