1 / 56

เป้าหมายการอบรม

เป้าหมายการอบรม. สร้างภูมิคุ้มกัน. Today we learn. Tomorrow we lead. (Glory International School) ศาสนิกชนดี พลเมืองซื่อสัตย์. สถานการณ์. ผลเนื่องจากวัฒนธรรม โลกาภิวัตน์ วัฒนธรรมปนเป คุณค่าขึ้นอยู่กับกระแส กระทบถึงคุณค่าศีลธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ

Download Presentation

เป้าหมายการอบรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เป้าหมายการอบรม

  2. สร้างภูมิคุ้มกัน Today we learn. Tomorrow we lead. (Glory International School) ศาสนิกชนดี พลเมืองซื่อสัตย์

  3. สถานการณ์ • ผลเนื่องจากวัฒนธรรมโลกาภิวัตน์ • วัฒนธรรมปนเป คุณค่าขึ้นอยู่กับกระแส • กระทบถึงคุณค่าศีลธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ • ดูเหมือนจะเป็นเรื่องของเพลง แฟชั่น วัตถุสิ่งของ • แต่พร้อมกับแต่ละอย่างมีแนวคิด วิธีการมอง การให้คุณค่า

  4. การสูญเสียคุณค่าแห่งวัฒนธรรมไทยการสูญเสียคุณค่าแห่งวัฒนธรรมไทย • เป็นคุณค่าที่อยู่เบื้องหลัง ไม่ว่าจะเป็นภาษา (ภาษาใช้ออนไลน์) ประเพณี การแต่งตัว ค่านิยม • เป็นการสูญเสียอัตลักษณ์ที่ทุกอย่างเหล่านี้หลอมรวมกันเป็น • พลเมืองดีซื่อสัตย์หมายถึงความภาคภูมิใจในความเป็นไทย พร้อมกับคุณค่าต่างๆ

  5. ตอบรับการท้าทาย • ระบบป้องกันมุ่งช่วยเยาวชนมีความเต็มเปี่ยมในตนเอง • ให้มี “สุขภาพดี เล่าเรียน ศักดิ์สิทธิ์” • ให้ “ร่าเริง ขยันเรียน ศรัทธา”

  6. ให้ “เป็นคริสตชนดีและพลเมืองซื่อสัตย์” สามารถสร้างความกลมกลืน “งาน ศาสนา ฤทธิ์กุศล” ซึ่งแสดงออกใน “ความศรัทธา มีศีลธรรม มีวัฒนธรรม มีอารยธรรม” • หรืออย่างที่คุณพ่อบอสโกระบุ “การอบรมด้านศีลธรรม ด้านพลเมือง ด้านคริสตชน” ซึ่งทำให้คิดและมองบุคคลในองค์รวมในแง่บุคคล ผู้ประกอบอาชีพ พลเมือง ผู้มีความเชื่อ

  7. ผู้ที่ให้การอบรม –พ่อแม่ เพื่อน ผู้นำเยาวชน- ต่างก็สำนึกว่าตนต้องเป็นประจักษ์พยานและเป็นเพื่อนผู้เผยความเป็นไปได้ต่างๆของชีวิตให้แก่ผู้รับการอบรมโดยโยงความสำนึกนี้ไปถึงแหล่งที่มาและเป้าหมายของชีวิตซึ่งช่วยให้ชีวิตเติบโตเหนือสิ่งอื่นใดต้องจัดหาผู้ที่รับการอบรมสามารถพูดคุยด้วยในเวลาเดียวกันก็เป็นประจักษ์พยานแห่งการประทับอยู่ของพระเจ้า (ปัสกัล ชาเวส, คำขวัญ 2008)

  8. ลักษณะแห่งการเป็นคริสตชนดีในบริบทที่มีความหลากลายศาสนานั้น พึงเน้นประเด็นว่า การกระทำของคริสตชนทั้งส่วนตัวและเปิดเผยอยู่ภายใต้ความสำนึกแห่ง “การเป็นบุตรพระเจ้า” (กท 4,1-7) และใน “อิสรภาพแห่งบุตรของพระเจ้า (กท 5,12; รม 8,19) และในแนวทางแห่งความรักซึ่งแสดงออกในการรับใช้ ในการปฏิบัติความยุติธรรมและในความเมตตากรุณา ในการแสวงหา “อารยธรรมแห่งความรัก” (พระสันตะปาปาเปาโล 6) (Carlo Nanni)

  9. บริบทหลากศาสนา • เด็กพุทธขาดการอบรมต่อเนื่อง • จึงควรมีการพูดอ้างธรรมะซึ่งสามารถใช้ได้ทุกคน • พูดถึงวันสำคัญของศาสนาเพื่อเกิดการรับรู้และเข้าใจ

  10. จิตสาธารณะ • เราเห็นด้วยกับความคิดที่กว้างกว่านั้นนั่นคือการเรียนรู้ด้านสังคม-พลเรือนการส่งเสริมให้มีประสบการณ์การรับผิดชอบและการมีส่วนร่วมในบทบาทและในความรับผิดชอบ (ปัสกัล ชาเวส, คำขวัญ 2008)

  11. ตอบแทนบุญคุณแผ่นดิน • เข้ามาในโลกและออกไปทิ้งโลกให้น่าอยู่ขึ้นสักอย่างหนึ่ง • สิ่งต้องเน้นคือจิตสาธารณะ • พลเมืองดีและซื่อสัตย์คือพลเมืองผู้มีจิตสาธารณะ • ความเจริญทางด้านวัตถุปัจจุบัน ทำให้สังคมมีค่านิยม ให้ความสำคัญและแสวงหาเงินทองอำนาจ มากกว่าให้ความสำคัญด้านจิตใจ สังคมจึงกลับเสื่อมโทรมลง ปัญหามากมายการปลูกฝังจิตใจให้

  12. บุคคลมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมจึงควรเกิดขึ้นในสังคม ด้วยเหตุนี้จึงมีการกล่าวถึงคำว่า "จิตสาธารณะ" มากขึ้นเพื่อประโยชน์ ที่จะเป็นแนวคิดต่อตนเอง อันจะสร้างประโยชน์ ก่อให้เกิดการพัฒนาแก่สังคม

  13. การปลูกฝังจิตใจให้บุคคลมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เป็นการสร้างคุณธรรมจริยธรรมซึ่งเป็นเรื่องที่เกิดจากภายใน "จิตสาธารณะ" เป็นสิ่งหนึ่งที่มีความสำคัญในการปลูกจิตสำนึกให้คนรู้จักเสียสละ ร่วมแรง ร่วมใจ มีความร่วมมือในการทำประโยชน์เพื่อส่วนรวม ช่วยลดปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคม ช่วยกันพัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อเป็นหลักการในการดำเนินชีวิต ช่วยแก้ปัญหาและสร้างสรรค์ให้เกิดประโยชน์สุขแก่สังคม  

  14. ความหมายของจิตสาธารณะความหมายของจิตสาธารณะ • จิตสำนึกเพื่อส่วนรวม • จิตสาธารณะจึงเป็นความรู้สึกถึงการเป็นเจ้าของในสิ่งทีเป็นสาธารณะ ในสิทธิและหน้าที่ที่จะดูแลและบำรุงรักษาร่วมกัน • การช่วยกันดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม โดยการไม่ทิ้ง ขยะลงในแหล่งน้ำ การดูแลรักษาสาธารณะสมบัติ เช่นโทรศัพท์สาธารณะ หลอดไฟที่ให้แสงสว่างตามถนนหนทาง

  15. ช่วยดูแลรักษาให้ความ ช่วยเหลือผู้ทุกข์ได้ยาก หรือผู้ที่ร้องขอความช่วยเหลือเท่าที่จะทำได้ • ร่วมมือกระทำเพื่อให้เกิดปัญหา หรือช่วยกันแก้ปัญหา แต่ต้องไม่ขัดต่อกฎหมาย เพื่อรักษาประโยชน์ส่วนร่วม

  16. สองแนวทาง 1. โดยการกระทำตนเอง ต้องมีความรับผิดชอบต่อตนเอง เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบและเกิดความ เสียหายต่อส่วนรวม 2. มีบทบาทต่อสังคมในการรักษาประโยชน์ของส่วนรวม เพื่อแก้ปัญหา สร้างสรรค์สังคม ซึ่งถือว่าเป็นความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม

  17. ความรับผิดชอบต่อตนเอง 1. ตั้งใจศึกษาเล่าเรียนหาความรู้ 2. รู้จักการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพให้แข็งแรงสมบรูณ์ 3. มีความประหยัดรู้จักความพอดี 4. ประพฤติตัวให้เหมาะสม ละเว้นการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสื่อมเสีย 5. ทำงานที่รับมอบหมายให้สำเร็จ 6. มีความรับผิดชอบ ตรงเวลา สามารถพึ่งพาตนเองได้

  18. ความรับผิดชอบต่อสังคมความรับผิดชอบต่อสังคม 1. มีความรับผิดชอบต่อครอบครัว เช่น เชื่อฟังพ่อแม่ ช่วยเหลืองานบ้าน ไม่ทำให้พ่อแม่เสียใจ 2. มีความรับผิดชอบต่อโรงเรียน ครูอาจารย์ เช่น ตั้งใจเล่าเรียน เชื่อฟังคำสั่งสอนของครูอาจารย์ปฏิบัติตามกฎระเบียบวินัยของโรงเรียน ช่วยรักษาทรัพย์สมบัติของโรงเรียน

  19. 3. มีความรับผิดชอบต่อบุคคลอื่นเช่นให้ความช่วยเหลือให้คำแนะนำไม่เอาเปรียบเคารพสิทธิซึ่งกันและกัน 4. มีความรับผิดชอบในฐานะพลเมือง เช่น ปฏิบัติตามกฎระเบียบของสังคม ปฏิบัติตามกฎหมาย รักษาสมบัติของส่วนรวม ให้ความร่วมมือต่อสังคมในฐานะพลเมืองดี ให้ความช่วยเหลือ

  20. คนจนแต่รวยน้ำใจ

  21. แนวทางการสร้างจิตสาธารณะ 1. สร้างวินัยในตนเอง ตระหนักถึงการมีส่วนร่วมในระบบประชาธิปไตย รู้ถึงขอบเขตของสิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ ความรับผิดชอบ ต่อตนเองและสังคม  2. ให้ความสำคัญต่อสิ่งแวดล้อม ตระหนักเสมอว่าตนเอง คือส่วนหนึ่งของสังคมต้องมีความรับผิดชอบในการรักษาสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นเรื่องของส่วนรวม ทั้งต่อประเทศชาติ และโลกใบนี้

  22.  3. ตระหนักถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นกับสังคม ให้ถือว่าเป็นปัญหาของตนเอง เช่นกันอย่างหลีกเลี่ยง ไม่ได้ ต้องช่วยกันแก้ไข เช่น ช่วยกันดำเนินการให้โรงงานอุตสาหกรรมสร้างบ่อพักน้ำทิ้งก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะ 4. ยึดหลักธรรมในการดำเนินชีวิต เพราะหลักธรรมหรือคำสั่งสอนในทุกศาสนาที่นับถือ สอนให้คนทำความดีทั้งสิ้น ถ้าปฏิบัติได้จะทำให้ตนเองมีความสุข นอกจานี้ยังก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมด้วย ทำให้เราสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

  23. ระบบป้องกันคือชีวิต ชีวิตพ่อบอสโก ชีวิตผู้อบรม

  24. เป็นชีวิตและการกระทำ เป็นชีวิตจิตMysticism การเป็นหนึ่งเดียวกับพระเจ้า การอยู่กับพระเจ้า ความสำนึกของการประทับอยู่ของพระเจ้า รูปแบบใหม่ของการู้และการรักที่มีพื้นฐานแห่งความสำนึกว่าพระเจ้าประทับอยู่การกระทำภายใน

  25. เป็นชีวิตจิต Ascetism มาจากคำกรีก askesis แปลว่าการฝึกฝนโดยเฉพาะด้านกีฬา การฝึกฝ่ายจิตให้กลายเป็นนิสัยแห่งฤทธิ์กุศล การสร้างวินัยในตนเองและการละเว้น

  26. คุณพ่อบอสโกเป็นหนึ่งเดียวกับพระเจ้าด้วยการปฏิบัติความรักต่อเยาวชนคุณพ่อบอสโกเป็นหนึ่งเดียวกับพระเจ้าด้วยการปฏิบัติความรักต่อเยาวชน ด้านศาสนา การเป็นหนึ่งเดียวกับพระเจ้าและการสำนึกในการประทับอยู่ของพระองค์ “พระเจ้าเห็นเธอเสมอ”   “พบพระเจ้าในเยาวชนและประกอบพิธีกรรมชีวิตในการรักและรับใช้”

  27. ด้านความรัก รักและเป็นหนึ่งเดียวกับพระเจ้าผ่านทางเด็กและเยาวชน “ไปพบพระเยซูเจ้าในเยาวชน”

  28. ด้านเหตุผล โดยมีเหตุผลแห่งความเชื่อเป็นแรงบันดาลใจและขับเคลื่อน

  29. ระบบป้องกัน คือการพบปะเยาวชนในประสบการณ์ฝ่ายจิตและอบรม คือความรักที่ให้เปล่าตามแบบความรักของพระเจ้า ที่ดูแลล่วงหน้า “previene” มนุษย์แต่ละคน ติดตามด้วยการประทับอยู่ มอบชีวิตเพื่อช่วยให้รอด

  30. เป็นวิธีการแห่งการดำเนินชีวิตประกาศข่าวดี และช่วยเยาวชนรอด กับเยาวชนและโดยทางเยาวชน แทรกซึมในความสัมพันธ์กับพระเจ้า การติดต่อ ชีวิตหมู่คณะ การปฏิบัติความรักด้วยการทำตนเป็นคนน่ารัก

  31. คุณพ่อบอสโก เป็นมนุษย์ลึกซึ้งในคุณธรรมมนุษย์ เปิดรับคุณค่าแท้จริงแห่งโลก เป็นคนของพระเจ้าที่ลึกซึ้ง เปี่ยมด้วยพระพรแห่งพระจิต

  32. ดำเนินชีวิต “ราวกับเห็นสิ่งที่ไม่ปรากฏแก่ตา” ไม่ก้าวเดิน ไม่พูด ไม่เริ่มทำอะไร หากไม่มีเป้าหมายที่ความรอดของเยาวชน สนใจแต่วิญญาณ “Da mihi animas coetera tolle”

More Related