700 likes | 1.73k Views
เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน. เงินเฟ้อ และเงินฝืด. เงินเฟ้อ (Inflation). ภาวะที่ระดับราคาโดยทั่วไปของสินค้าและบริการเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย. ราคาสินค้า ก. ลดลง. ระดับราคาสินค้า โดยเฉลี่ยมีค่าเพิ่มขึ้น. ราคาสินค้า ข. คงที่. ราคาสินค้า ค. เพิ่มขึ้น.
E N D
เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
เงินเฟ้อ(Inflation) • ภาวะที่ระดับราคาโดยทั่วไปของสินค้าและบริการเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ราคาสินค้า ก. ลดลง ระดับราคาสินค้าโดยเฉลี่ยมีค่าเพิ่มขึ้น ราคาสินค้า ข. คงที่ ราคาสินค้า ค. เพิ่มขึ้น
ระดับราคาสินค้าสูงขึ้น(รายได้ที่เป็นตัวเงินคงที่)ระดับราคาสินค้าสูงขึ้น(รายได้ที่เป็นตัวเงินคงที่) รายได้ที่แท้จริงลดลง อำนาจซื้อลดลง ภาวะเงินเฟ้อ อำนาจซื้อลดลง
เลขดัชนีราคา • ตัวเลขที่แสดงระดับราคาสินค้าของปีใดปีหนึ่งเมื่อเทียบกับระดับราคาของปีฐานโดยให้ระดับราคาของปีฐานเท่ากับ100 • ดัชนีราคาขายปลีกหรือดัชนีราคาผู้บริโภค(Consumer Price Index : CPI) • ดัชนีราคาผู้ผลิต(Producer Price Index) • ดัชนีราคาขายส่ง(Wholesale Price Index)
การวัดอัตราเงินเฟ้อ อัตราการเปลี่ยนแปลงของ CPI ดัชนีราคาผู้บริโภค (CPI)
ถ้า ปี 2541 มี CPI เท่ากับ 127.8และ ปี 2542 มี CPI เท่ากับ 128.2อัตราการเปลี่ยนแปลงของดัชนีราคาผู้บริโภค ปี 2542 เท่ากับเท่าใด เมื่อเทียบกับปี 2541 CPIปี 41= 127.8CPIปี 42เพิ่มขึ้น=128.2 - 127.8 CPIปี 41= 100 CPIปี 42เพิ่มขึ้น 128.2 - 127.8 = x 100 127.8 อัตราเงินเฟ้อ ปี 2542 = 0.31
อัตราเงินเฟ้อ ปี 2542 128.2 - 127.8 = x 100 127.8 CPI42 - CPI41 = x 100 CPI41 CPIn - CPIn - 1 อัตราเงินเฟ้อปีที่ n = x 100 CPIn - 1
ปี CPI อัตราเงินเฟ้อ 2537 100 *** 2538 105.8 5.8 2439 112.0 5.86 2540 118.2 5.53 2541 127.8 8.12 2542 128.2 0.31 2543 130.2 1.56 2544 132.3 1.61 ดัชนีราคาผู้บริโภคปี 2537 - 2544
สาเหตุของภาวะเงินเฟ้อสาเหตุของภาวะเงินเฟ้อ • เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านอุปสงค์(Demand - Pull Inflation) • เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านต้นทุน(Cost - Push Inflation) • เงินเฟ้อที่เกิดทางด้านอุปสงค์มวลรวมและอุปทานมวลรวม (Mixed Inflation) • กรณีมีการค้ากับต่างประเทศ
GDP = C + I + G + (X – M) Aggregate Demand = C + I + G + (X – M) Aggregate Expenditure = C + I + G + (X – M)
เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านอุปสงค์(Demand - Pull Inflation) • เงินเฟ้อที่เกิดขึ้นจากอุปสงค์มวลรวมของประเทศเพิ่มสูงขึ้นในขณะที่อุปทานมวลรวมของสินค้าและบริการไม่สามารถเพิ่มขึ้นได้ • อุปสงค์มวลรวม (Aggregate Demand) เพิ่มขึ้น
AS = Aggregate Supply AD = Aggregate Demand P AS P5 P4 AD5 P3 AD4 P2 P1 AD3 AD2 0 Q AD1 Qf
สาเหตุที่อุปสงค์รวมเพิ่มสูงขึ้นสาเหตุที่อุปสงค์รวมเพิ่มสูงขึ้น • การเพิ่มขึ้นของปริมาณเงิน • การเพิ่มขึ้นของส่วนประกอบของอุปสงค์มวลรวมของประเทศ
ปริมาณเงินเพิ่มขึ้น ใช้จ่ายเพื่อซื้อสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น Aggregate Demand เพิ่มขึ้น เกิดภาวะเงินเฟ้อ 1.การเพิ่มขึ้นของปริมาณเงิน
Aggregate Demand = C + I + G + (X – M) เกิดภาวะเงินเฟ้อ 2. การเพิ่มขึ้นของปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์
เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านต้นทุน(Cost - Push Inflation) • เงินเฟ้อที่เกิดจากต้นทุนการผลิตสินค้าเพิ่มขึ้นในขณะที่อุปสงค์มวลรวมของประเทศยังคงเดิม • อุปทานมวลรวม (Aggregate Supply) ลด
AS P P3 AS3 P1 AS2 P2 AD AS1 0 Q
สาเหตุที่ทำให้ต้นทุนการผลิตสินค้าและบริการเพิ่มขึ้นสาเหตุที่ทำให้ต้นทุนการผลิตสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น • การเพิ่มขึ้นของค่าจ้างแรงงานในการผลิตสินค้า(Wage - Push Inflation) • การเพิ่มขึ้นของอัตรากำไรของผู้ผลิต(Profit - Push Inflation) • การเพิ่มขึ้นของราคาน้ำมันเชื้อเพลิงและวัตถุดิบต่างๆ
1. การเพิ่มขึ้นของค่าจ้างแรงงานในการผลิตสินค้า(Wage - Push Inflation) แรงงาน กำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน ระดับราคา (ค่าจ้าง) ที่ดุลยภาพ สินค้าชนิดหนึ่ง
Wage - Push Inflation (ต่อ) ถ้ามีการปรับค่าจ้างแรงงานขั้นต่ำเพิ่มขึ้นในขณะที่ประสิทธิภาพของแรงงานคงเดิม อุปสงค์ต่อแรงงานคงเดิม ต้นทุนเพิ่มขึ้น ลดปริมาณการผลิต ลดการจ้างงาน ไม่ลดการจ้างงาน แต่ปรับราคาเพิ่มขึ้น P เพิ่มขึ้น
ผู้ผลิตต้องการกำไรสูงกว่าเดิมผู้ผลิตต้องการกำไรสูงกว่าเดิม ตั้งราคาสินค้าให้สูงขึ้น เงินเฟ้อ • ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ 2. การเพิ่มขึ้นของอัตรากำไรของผู้ผลิต (Profit - Push Inflation)
ราคาน้ำมันหรือราคาวัตถุดิบเพิ่มขึ้นราคาน้ำมันหรือราคาวัตถุดิบเพิ่มขึ้น ต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้น ราคาเพิ่มขึ้น Supply ลด 3. การเพิ่มขึ้นของราคาน้ำมันเชื้อเพลิงและวัตถุดิบต่างๆ
เงินเฟ้อที่เกิดทางด้านอุปสงค์มวลรวมและอุปทานมวลรวม ( Mixed demand cost Inflation) • เงินเฟ้อที่เกิดขึ้นเนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์และอุปทานมวลรวมในขณะเดียวกัน
Aggregate Demand Aggregate Supply มีการลงทุนเพิ่มขึ้น(I) รัฐลงทุนขั้นพื้นฐาน มากขึ้น(G ) โอเปคลดการผลิตน้ำมัน เรียกร้องค่าจ้างเพิ่มขึ้น ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น ราคาน้ำมันสูงขึ้น AD เพิ่ม AS ลด AS ลด P P
มีเงินเฟ้อในต่างประเทศมีเงินเฟ้อในต่างประเทศ เกิดเงินเฟ้อภายในประเทศ กรณีมีการค้ากับต่างประเทศ
กรณีมีการค้ากับต่างประเทศ (ต่อ) ประเทศไทยมีสินค้าออกที่สำคัญคือ ข้าว ราคาสินค้าโดยทั่วไปในประเทศสูงขึ้น ใช้จ่ายเพิ่มขึ้น (สินค้าทั่วไป) ราคาข้าวในตลาดโลกสูงขึ้น ผู้ค้าข้าวได้รายได้เพิ่มขึ้น AD เพิ่ม C
ประเทศ ก. ซื้อสินค้าจากประเทศ ข. ถ้าประเทศ ข. เกิดเงินเฟ้อ ประเทศ ก. : ราคาสินค้านำเข้าจาก ข. สูงขึ้น ราคาสินค้าส่งออกสูงขึ้น เรียกร้องค่าจ้างเพิ่มขึ้น ราคาสินค้าใน ก. เพิ่มขึ้น ค่าครองชีพสูงขึ้น ต้นทุนเพิ่มขึ้น ภาวะเงินเฟ้อ กรณีมีการค้ากับต่างประเทศ (ต่อ)
กรณีต้องนำเข้าสินค้าทุนจากต่างประเทศกรณีต้องนำเข้าสินค้าทุนจากต่างประเทศ AS ลด ถ้าราคาสินค้าทุนสูงขึ้น ระดับราคาสินค้าสูงขึ้น ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น กรณีมีการค้ากับต่างประเทศ (ต่อ)
1. ผลต่อการกระจายรายได้ • กลุ่มที่ได้รับประโยชน์จากเงินเฟ้อ • กลุ่มที่เสียประโยชน์จากเงินเฟ้อ ผลกระทบของเงินเฟ้อ
กลุ่มที่ได้รับประโยชน์จากเงินเฟ้อกลุ่มที่ได้รับประโยชน์จากเงินเฟ้อ • กลุ่มที่มีรายได้เพิ่มขึ้นมากกว่าอัตราเงินเฟ้อที่เพิ่มขึ้น • ผู้ที่ทำสัญญาจ่ายเงินไว้แล้วเป็นระยะเวลานาน • ผู้ที่ถือทรัพย์สินที่ราคาของทรัพย์สินนั้นสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามภาวะเงินเฟ้อ
กลุ่มที่เสียประโยชน์จากเงินเฟ้อกลุ่มที่เสียประโยชน์จากเงินเฟ้อ • ผู้ที่มีรายได้ประจำ • เจ้าหนี้ที่ไม่สามารถปรับอัตราดอกเบี้ยให้สูงขึ้นได้ • ผู้ให้เช่าที่สัญญาเช่าระยะยาว และไม่สามารถปรับค่าเช่าได้ • ผู้ถือทรัพย์สินในรูปของเงินฝากธนาคาร • ฯลฯ
2. ผลต่อการออมและการลงทุนของประเทศ ถ้าอัตราเงินเฟ้อสูงกว่าอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก ประเทศขาดแคลนเงินออมเพื่อการลงทุนระยะยาว ถือสินทรัพย์อื่นแทนการฝากเงิน การลงทุนของประเทศลดลง ผลกระทบของเงินเฟ้อ (ต่อ)
3. ผลที่มีต่อการคลังของรัฐบาล รายได้ ภาษีอัตราก้าวหน้า ภาษีทางอ้อม รายได้ที่เป็นตัวเงินของประชาชนสูงขึ้น เก็บภาษีได้เพิ่มขึ้น มีการซื้อ - ขายสินค้าเพิ่มขึ้น ผลกระทบของเงินเฟ้อ (ต่อ)
3. ผลที่มีต่อการคลังของรัฐบาล (ต่อ) รายจ่าย • ได้รับประโยชน์จากรายจ่ายคงที่ ชำระดอกเบี้ยได้ไม่ยาก รัฐจ่ายเงินประกันลดลง เงินที่รัฐจ่ายคืนมีอำนาจซื้อลดลง + รายได้รัฐเพิ่มขึ้น รายจ่ายลดลง • กรณีกู้เงินจากการขายพันธบัตร • จ้างงานเพิ่มขึ้น ผลกระทบของเงินเฟ้อ (ต่อ)
4. ผลกระทบต่อการค้าต่างประเทศ ราคาสินค้าในประเทศสูงขึ้น ราคาสินค้าจากต่างประเทศถูกกว่า ซื้อสินค้านำเข้าเพิ่มขึ้น สินค้าส่งออกลดลง สินค้าส่งออกมีราคาสูงขึ้น สินค้านำเข้ามีราคาถูก ดุลการค้าขาดดุล ผลกระทบของเงินเฟ้อ (ต่อ)
5. ผลต่อการเมืองของประเทศ เงินเฟ้อ ประชาชนยิ่งเดือดร้อนเพราะรายได้แท้จริงลดลงการกระจายรายได้มีความเหลื่อมล้ำมากขึ้น พยายามเรียกร้องเพื่อให้ได้รายได้เพิ่มขึ้น เปลี่ยนแปลงรัฐบาล รัฐบาลแก้ไขไม่ได้ เกิดความไม่พอใจ เงินเฟ้อยิ่งเพิ่มขึ้น ประชาชนเดือดร้อน(ค่าครองชีพสูงขึ้น) ผลกระทบของเงินเฟ้อ (ต่อ)
นโยบายการเงิน นโยบายการเงินแบบเข้มงวด นโยบายการคลัง นโยบายการคลังแบบหดตัว การแก้ปัญหาเงินเฟ้อ 1. ลดอุปสงค์มวลรวมหรือลดการใช้จ่ายรวมของประเทศ : ใช้นโยบายการเงินหรือนโยบายการคลัง
2.เพิ่มอุปทานมวลรวม • มาตรการในระยะยาว • ปรับปรุงประสิทธิภาพในการผลิต เพื่อเพิ่มอุปทานมวลรวมให้ทันกับการเพิ่มขึ้นของอุปสงค์มวลรวม • คิดค้นวิทยาการใหม่ • ฝึกอบรมเพิ่มทักษะแก่แรงงาน การแก้ปัญหาเงินเฟ้อ(ต่อ)
3.มาตรการอื่นๆ • ควบคุมราคาสินค้า โดยกำหนดราคาขายในท้องตลาดของสินค้าที่สำคัญบางชนิดที่จำเป็นต่อการครองชีพ • มีการลงโทษผู้กักตุนสินค้า • ควบคุมสหภาพแรงงานไม่ให้เรียกร้องค่าแรงสูงกว่าผลิตภาพของแรงงาน • ฯลฯ การแก้ปัญหาเงินเฟ้อ(ต่อ)
เงินฝืด (Deflation) • ภาวะที่ระดับราคาสินค้าและบริการทั่วไปลดต่ำลงเรื่อยๆ อย่างต่อเนื่อง • อุปสงค์มวลรวมของระบบเศรษฐกิจมีน้อยกว่าปริมาณสินค้าที่นำออกขาย • อำนาจซื้อเพิ่มขึ้น • การแก้ปัญหา
อุปสงค์มวลรวมของระบบเศรษฐกิจมีน้อยกว่าปริมาณสินค้าที่นำออกขายอุปสงค์มวลรวมของระบบเศรษฐกิจมีน้อยกว่าปริมาณสินค้าที่นำออกขาย ลดปริมาณการผลิตและการจ้างงาน ผู้ผลิตต้องลดราคาลงเรื่อยๆ เกิดการว่างงาน
การว่างงาน (Unemployment) • ภาวะการณ์ที่ผู้ที่อยู่ในวัยทำงานซึ่งมีความสมัครใจและมีความสามารถที่จะทำงาน ณ ระดับค่าแรงที่ปรากฏ แต่ไม่สามารถหางานทำได้ • การว่างงานโดยไม่สมัครใจ และการว่างงานโดยสมัครใจ
ประเทศ A ประเทศ B นาย ข.ไม่ต้องการทำงาน นาย ก. หางานทำไม่ได้ ว่างงานโดยไม่สมัครใจ ว่างงานโดยสมัครใจ นาย ก. ไม่มีงานทำ นาย ข.ไม่มีงานทำ ประชากร 10 คน ประชากร 10 คน ไม่มีการว่างงาน 9 คน มีงานทำ 9 คน มีงานทำ มีการว่างงาน
ประเภทของการว่างงาน • การว่างงานโดยเปิดเผย(Open Unemployment) • การว่างงานแอบแฝง(Disguised unemployment)
การว่างงานโดยเปิดเผย (Open Unemployment) • การว่างงานชั่วคราว (Frictional unemployment) • การว่างงานตามฤดูกาล (Seasonal unemployment) • การว่างงานเนื่องจากโครงสร้างของระบบเศรษฐกิจ(Structural unemployment)
การว่างงานเนื่องจากวัฎจักรเศรษฐกิจ(Cyclical unemployment) วัฎจักรเศรษฐกิจ(Business cycles) • ระยะเศรษฐกิจรุ่งเรือง(Prosperous period) • ระยะเศรษฐกิจหดตัว(recession period) • ระยะเศรษฐกิจตกต่ำ(depression period) • ระยะเศรษฐกิจฟื้นตัว(recovery period) Open Unemployment (ต่อ)
วัฎจักรเศรษฐกิจ(Business cycles) Y IP ว่างงานต่ำ รุ่งเรือง Iว่างงานลดลง รุ่งเรือง หดตัว ฟื้นตัว Iว่างงานสูงขึ้น หดตัว ตกต่ำ IP ว่างงานสูง ตกต่ำ time Open Unemployment (ต่อ)
การว่างงานแอบแฝง (Disguised unemployment) • การว่างงานที่มองไม่เห็นว่ามีการว่างงานเกิดขึ้น • บุคคลนั้นยังคงทำงานอยู่แต่ต้องทำงานต่ำกว่าระดับความรู้ความสามารถ