1 / 31

ชีววิทยา กับการดำรงชีวิต

ชีววิทยา กับการดำรงชีวิต. ชีววิทยา สำคัญ ต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์หรือไม่? อย่างไร?. ชีววิทยากับการดำรงชีวิต. การดูแลสุขภาพร่างกาย การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ การผลิตอาหาร การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การประกอบอาชีพ กระบวนการยุติธรรม ฯลฯ. ความสำคัญ. Chlorella sp. ชีววิทยากับการดำรงชีวิต.

hua
Download Presentation

ชีววิทยา กับการดำรงชีวิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ชีววิทยากับการดำรงชีวิตชีววิทยากับการดำรงชีวิต

  2. ชีววิทยาสำคัญต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์หรือไม่? อย่างไร?

  3. ชีววิทยากับการดำรงชีวิตชีววิทยากับการดำรงชีวิต • การดูแลสุขภาพร่างกาย • การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ • การผลิตอาหาร • การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม • การประกอบอาชีพ • กระบวนการยุติธรรม • ฯลฯ ความสำคัญ

  4. Chlorella sp. ชีววิทยากับการดำรงชีวิต สาหร่ายเซลล์เดียว มีโปรตีนสูง นิยมนำมาทำเป็นอาหารเสริม

  5. ชีววิทยากับการดำรงชีวิตชีววิทยากับการดำรงชีวิต • GMOs (geneticallymodifiedorganisms) คือ สิ่งมีชีวิตที่มีการตัดและต่อยีนด้วยเทคนิคพันธุวิศวกรรม (geneticengineering) ทำให้มีลักษณะพันธุกรรมตามต้องการ การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ GMOs คือ…

  6. ทีมนักวิจัย อังกฤษประสบผลสำเร็จ ในการตัดต่อยีน สร้าง "มะเขือเทศสีม่วง"ที่อุดมไปด้วยสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยป้องกันสารพัดโรค โดยเฉพาะมะเร็งหวังใช้เป็นทางออกให้กับคนที่ไม่ค่อยกินผักผลไม้ทีมนักวิจัย อังกฤษประสบผลสำเร็จ ในการตัดต่อยีน สร้าง "มะเขือเทศสีม่วง"ที่อุดมไปด้วยสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยป้องกันสารพัดโรค โดยเฉพาะมะเร็งหวังใช้เป็นทางออกให้กับคนที่ไม่ค่อยกินผักผลไม้

  7. พืชที่ปลูกได้ในถิ่นทุรกันดารพืชที่ปลูกได้ในถิ่นทุรกันดาร เช่น ในสภาวะน้ำท่วม แห้งแล้ง ดินเค็ม GMOs Non-GMOs

  8. ขนุนไพศาลทักษิณ-โครงการพระราชดำริขนุนไพศาลทักษิณ-โครงการพระราชดำริ • พ.ศ. 2528   ทรงใช้เทคโนโลยีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่ออนุรักษ์พืช

  9. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Plant Tissue  Culture)…?? • คือการนำเอาส่วนใดส่วนหนึ่งของพืชมาเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์ 

  10. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Plant Tissue  Culture)

  11. ชีววิทยากับการดำรงชีวิตชีววิทยากับการดำรงชีวิต • Cloningคือ การสร้างสิ่งมีชีวิตใหม่ที่มีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนเดิมทุกประการ การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ Cloning..?

  12. แกะดอลลี่ กำเนิดลูกแกะ“ดอลลี่” เมื่อปี ค.ศ 1996

  13. ชีววิทยากับการดำรงชีวิตชีววิทยากับการดำรงชีวิต • การผสมเทียมในหลอดแก้ว แล้วถ่ายฝากตัวอ่อน (InVitroFertilizationEmbryoTransferหรือ IVF& ET )

  14. ชีววิทยากับการดำรงชีวิตชีววิทยากับการดำรงชีวิต • การทำกิฟท์ ( Gamete IntraFollopain Transfer หรือ GIF)นำเซลล์สืบพันธุ์ไข่และอสุจิออกมาแล้วใส่กลับเข้าสู่ท่อนำไข่ทันทีอาศัยให้อสุจิและไข่ปฏิสนธิกันเองตามธรรมชาติ

  15. ชีววิทยากับการดำรงชีวิตชีววิทยากับการดำรงชีวิต • การทำซิฟท์ ( Zygote IntraFollopain Transfer หรือ ZIFT) เซลล์สืบพันธุ์ไข่และอสุจิมาผสมกันให้เกิดการปฏิสนธินอกร่างกายก่อนแล้วจึงนำตัวอ่อนในระยะ Zygote ใส่กลับเข้าไปในท่อนำไข่

  16. ชีววิทยากับการดำรงชีวิตชีววิทยากับการดำรงชีวิต • การทำอิ๊กซี่ ( IntraCytoplasmic Sperm Injection หรือ ICSI)คัดเชื้ออสุจิที่สมบูรณ์เพียงตัวเดียว ฉีดเข้าไปในไข่โดยตรง**ใช้ในกรณีที่เด็กหลอดแก้วธรรมดาไม่ประสบความสำเร็จ

  17. ชีววิทยากับการดำรงชีวิตชีววิทยากับการดำรงชีวิต • การพัฒนาเทคนิคทางด้าน DNA ตรวจหาความสัมพันธ์ทางสายเลือด

  18. ใช้ในการสืบสวนสอบสวนทางคดีของแพทย์และตำรวจใช้ในการสืบสวนสอบสวนทางคดีของแพทย์และตำรวจ

  19. ชีววิทยากับการดำรงชีวิตชีววิทยากับการดำรงชีวิต • การผลิตฮอร์โมนอินซูลินจากยีสต์เพื่อรักษาโรคเบาหวานในคน

  20. ชีวจริยธรรม

  21. ชีวจริยธรรม (bioethics) • หมายถึง การปฏิบัติต่อสิ่งมีชีวิตอย่างมีคุณธรรม ไม่ทำร้าย หรือทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต

  22. ชีวจริยธรรม (bioethics) • จรรยาบรรณในการใช้สัตว์ทดลอง • อาวุธชีวภาพ • การโคลนมนุษย์ (cloning) • การทำแท้ง • สิ่งมีชีวิต GMOs • ทัวร์อวสานชีวิต/กรุณพิฆาต • และอื่น ๆ

  23. จรรยาบรรณในการใช้สัตว์ทดลองจรรยาบรรณในการใช้สัตว์ทดลอง • 1. ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักถึงคุณค่าของชีวิตสัตว์ • 2. ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักถึงความแม่นยำของผลงานโดยใช้สัตว์จำนวนน้อยที่สุด • 3. การใช้สัตว์ป่าต้องไม่ขัดต่อกฎหมายและนโยบายการอนุรักษ์ป่า • 4. ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักว่าสัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตเช่นเดียวกับมนุษย์ • 5. ผู้ใช้สัตว์ต้องบันทึกการปฏิบัติต่อสัตว์ไว้เป็นหลักฐานอย่างครบถ้วน

  24. อาวุธชีวภาพ • เทคโนโลยีชีวภาพหมายถึง การนำเอาสิ่งมีชีวิตหรือชิ้นส่วนของสิ่งมีชีวิตมาปรับปรุงให้เป็นประโยชน์มากขึ้นโดยใช้เทคโนโลยี   • มนุษย์นำมาใช้เป็นอาวุธทำลายล้างกัน ที่เรียกว่า อาวุธชีวภาพ • อาวุธชีวภาพสิ่งมีชีวิตที่นำมาใช้เป็นอาวุธชีวภาพได้แก่ พวกจุลินทรีย์ที่เป็นเชื้อโรค รวมทั้งชิ้นส่วนของจุลินทรีย์

  25. อาวุธชีวภาพ • Antraxหรือ โรคกาลี เป็นเชื้อแบคทีเรียที่เป็นรูปแท่ง ทำให้เกิดโรคระบาดในสัตว์ส่วนใหญ่เป็นสัตว์กินหญ้า เช่น โค กระบือ และติดต่อมาถึงคน • Smallpox หรือ ไข้ทรพิษ เป็นเชื้อไวรัสที่อยู่ในสภาพแห้งหรืออุณหภูมิได้นาน • Botulism เป็นแบคทีเรียรูปแท่ง สามารถสร้างสารพิษที่มีผลต่อระบบประสาททำให้เกิดอัมพาตของกล้ามเนื้อส่วนต่างๆ รวมทั้งกล้ามเนื้อหัวใจ ติดต่อกันได้ทางการกินและบาดแผล

  26. การโคลนมนุษย์ • โคลนนิ่ง (cloning) หรือการโคลน หมายถึง การคัดลอกหรือการทำซ้ำ (copy) • ในทางชีววิทยา หมายถึง การสร้างสิ่งมีชีวิตใหม่ที่มีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนเดิมทุกประการ • ในวงการแพทย์มีการวิจัยการโคลนเอ็มบริโอของคน โดยมีเป้าประสงค์เพื่อนำอวัยวะไปทดแทนผู้ป่วย เช่น ไต เป็นต้น • แต่ก็เป็นการทำให้มนุษย์โคลนมีอวัยวะไม่ครบ บางประเทศจึงไม่สนับสนุน โดยเหตุนี้ทุกประเทศทั่วโลกจึงห้ามการโคลนมนุษย์

  27. การโคลนนิ่งกระทิง • ความสำเร็จของคนไทยกับการโคลนนิ่งกระทิงได้รับการเปิดเผย เมื่อวันที่ 5 ธ.ค. 2551 โดยดร.รังสรรค์  พาลพ่าย อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร และหัวหน้าศูนย์วิจัยเทคโนโลยีตัวอ่อนและเซลล์ต้นกำเนิด มหาวิทยาลัยเทคโยโลยีสุรนารี (มทส.) 

  28. การทำแท้ง • ในประเทศไทยมีการอนุมัติให้ขายยา RU 486 ที่ทำให้เกิดการแท้ง และมีกฎหมายอนุญาตให้ทำแท้งได้ 2 กรณี คือ 1. สุขภาพกาย สุขภาพจิตของหญิงผู้เป็นแม่ และสุขภาพของทารกในครรภ์ ไม่ดี เช่น ติดเชื้อ HIV เป็นโรคต่อมไร้ท่อ โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง โรคธาลัสซีเมีย มีภาวะปัญญาอ่อน 2. การตั้งครรภ์เพราะถูกข่มขืน

  29. ทัวร์อวสานชีวิต/กรุณพิฆาต • ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ มีบริการให้ผู้ป่วยที่ไม่ปรารถนาจะมีชีวิตอยู่ไปได้จบชีวิตลงอย่างสงบ • ดำเนินการโดยมูลนิธิการกุศลแห่งหนึ่ง เป็นการกระทำที่ถูกต้องตามกฎหมาย • มีทั้งชาวสวิตและชาวต่างชาติเดินทางมาใช้บริการไปแล้วประมาณ 150 ราย • กรณีนี้ยังไม่เป็นที่ยอมรับสำหรับประเทศอื่น ๆ ถือเป็นปัญหาชีวจริยธรรมที่ต้องพิจารณากันอย่างรอบคอบ

  30. ให้นักเรียนช่วยกันระดมความคิดเกี่ยวกับชีวจริยธรรม ในเรื่องของการทดลองทางวิทยาศาสตร์ที่มีการนำสัตว์มาใช้ทดลอง • โดยวิเคราะห์ถึงข้อดี-ข้อเสียของการใช้สัตว์ทดลอง

  31. การบ้าน • ให้นักเรียนไปสืบค้นหาข่าวที่เกี่ยวข้องกับชีวจริยธรรมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เช่น หนังสือพิมพ์ วารสาร หรือจากอินเตอร์เน็ต แล้วนำมาวิเคราะห์ว่ามีความเหมาะสมหรือไม่ อย่างไร

More Related