1 / 73

การสร้างเสริมสุขภาพ

การสร้างเสริมสุขภาพ. การสร้างเสริมสุขภาพ. นาวาโท หญิง พรทิพย์ ปัดไธสง หน. โภชนาการ กองเวชกรรมป้องกัน พร. ความแข็งแรงที่คุณอยากได้. ความแข็งแรงที่คุณอยากได้. ความสมบูรณ์ของร่างกาย. สุขภาพ ( Health ). สมรรถภาพทางกาย( Physical P erformance ). ทดสอบสมรรถภาพ ทางกาย. ตรวจสุขภาพ. สุขภาพ

hu-ferrell
Download Presentation

การสร้างเสริมสุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสร้างเสริมสุขภาพ

  2. การสร้างเสริมสุขภาพ นาวาโท หญิง พรทิพย์ ปัดไธสง หน. โภชนาการ กองเวชกรรมป้องกัน พร.

  3. ความแข็งแรงที่คุณอยากได้ความแข็งแรงที่คุณอยากได้ ความแข็งแรงที่คุณอยากได้

  4. ความสมบูรณ์ของร่างกายความสมบูรณ์ของร่างกาย สุขภาพ (Health) สมรรถภาพทางกาย(Physical Performance) ทดสอบสมรรถภาพ ทางกาย ตรวจสุขภาพ

  5. สุขภาพ ความสมบูรณ์ของร่างกายและจิตใจ การดำรงชีวิตอยู่ในสังคมด้วยดี มิได้หมายความเพียงปราศจากโรค หรือ ทุพพลภาพ เท่านั้น

  6. สมรรถภาพทางกาย ความสามารถของร่างกายในด้าน - ประกอบภารกิจประจำวัน - การออกกำลังกาย - เล่นกีฬา ได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยไม่ก่อให้เกิดความทุกข์ทรมานต่อร่างกาย

  7. 2540 43.4 49.0 71.1 13.3 สาเหตุการตาย 2541 48.7 35.5 63.5 10.3 2542 58.6 48.5 49.9 15.6 2543 63.9 52.5 31.9 18.9 2544 68.4 50.9 30.3 24.5 2545 73.3 55.3 24.6 26.6 มะเร็งทุกชนิด อุบัติเหตุ/การเป็นพิษ โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง และ โรคหลอดเลือดในสมอง อัตราตายต่อประชากร 100,000 คน พ.ศ.2540-2545

  8. ปัญหาสาธารณสุขใน ทร. สาเหตุของการมารักษาพยาบาล อันดับ 1 ความดันโลหิตสูง อันดับ 2 ทางเดินหายใจตอนบน อันดับ 3 เบาหวาน อันดับ 4 ปวดหลัง

  9. สถิติของโรคที่พบมากที่สุด 10 อันดับ ข้อมูลจาก

  10. การตรวจสุขภาพประจำปี ข้าราชการ ลูกจ้าง พ.ศ.2541 - 2543 รวม 26,689 คน โรคอ้วน 23.5% เบาหวาน 4.8 % ภาวะไขมันในเลือดสูง 38.5 % ความดันโลหิตสูง 3.5 %

  11. การตรวจสุขภาพประจำปี ข้าราชการ ลูกจ้าง พ.ศ.2548 รวม 30,056 คน

  12. การสร้างเสริมสุขภาพ - โภชนาการ - ออกกำลังกาย - สุขภาพจิต

  13. อาหารเพื่อสุขภาพ

  14. อาหาร

  15. "คนคือธาตุ"

  16. เกลือแร่มี 4 % ของน้ำหนักตัว - แคลเซี่ยม 2.2% - โคบอลต์ - ฟอสฟอรัส 1.2% - สังกะสี - โปแตสเซี่ยม 0.35% - ซิลิเนียม - กำมะถัน 0.25% - โครเมียม - โซเดียม 0.15% - คลอรีน 0.15% - แมกเนเซียม 0.05% - เหล็ก 0.004% - แมงกานีส 0.0003% - ทองแดง 0.00015% - ไอโอดีน 0.00004 ออกซิเจน 65 % คาร์บอนไดออกไซด์ 18 % ไฮโดรเจน 18 % ไนโตรเจน 3 % เกลือแร่ 4 %

  17. เหตุผลที่ท่านใช้ ในการกินอาหาร

  18. เพราะหิว ?เพราะอยากกิน ?เพราะอร่อย ?เพราะเขาเลี้ยง ?

  19. สร้างเสริมส่วนที่สึกหรอสร้างเสริมส่วนที่สึกหรอ

  20. อาหารทำให้ร่างกายแข็งแรงอาหารทำให้ร่างกายแข็งแรง

  21. อาหาร สารอาหาร 1. เนื้อสัตว์ , ผลิตภัณฑ์สัตว์ 1. โปรตีน 2. ข้าว แป้ง ธัญพืช 2. คาร์โบไฮเดรต 3. ผัก 3. เกลือแร่,วิตามิน,โปรตีน 4. ผลไม้ 4. เกลือแร่ , วิตามิน 5. ไขมัน 5. ไขมัน 6. น้ำ

  22. หมู่ที่ 1 • เนื้อสัตว์ต่างๆ เนื้อปลา • ไข่ 3 ฟอง/สัปดาห์ • นม 1 แก้ว/วัน • ถั่ว

  23. คุณค่าอาหารหมู่ที่ 1 ใน 100 กรัม ชื่ออาหาร แคลอรี่ โปรตีน แคลเซี่ยม เหล็ก A B1 B2 Gm. Mg. Mg. Iu mg. mg. เนื้อไก่ 200 20.2 14 1.5 408 0.08 0.16 เนื้อวัว 150 20.0 9 3 58 0.07 0.34 เนื้อหมู 376 14.1 8 2.1 - 0.69 0.16 ปลาช่อน 78 19.1 14 0.4 - 0.01 0.01 ปลาทู 93 21.5 42 1.5 - 0.14 0.18 กุ้งน้ำจืด 82 16.2 161 2.2 - 0.04 0.13 ตับหมู 131 19.9 8 4.4 14,200 0.40 2.34 ไข่ไก่ 163 12.9 61 3.2 1,950 0.10 0.40 เต้าหู้แผ่น 113 13.3 136 2.8 33 0.06 0.03

  24. หมู่ที่ 2 • ข้าว แป้ง • น้ำตาล • เผือก มัน

  25. เปรียบเทียบสารอาหารในข้าวเปรียบเทียบสารอาหารในข้าว

  26. หมู่ที่ 3 • ผักใบเขียว • ผักที่มีสีเขียว

  27. คุณค่าอาหารของผักต่างๆ ต่อ 100 กรัม

  28. หมู่ที่ 4 • ผลไม้ต่างๆ • ควรยกเว้นผลไม้ที่มีรสหวานจัด

  29. คุณค่าอาหารของผลไม้ต่อ 100 กรัม

  30. หมู่ที่ 5 • อาหารไขมัน • ไขมันอิ่มตัว จากสัตว์ น้ำมันมะพร้าว • ไขมันไม่อิ่มตัว เช่น น้ำมันงา ถั่วเหลือง

  31. ปริมาณกรดไลโนลีอิคในน้ำมันปริมาณกรดไลโนลีอิคในน้ำมัน

  32. โคเลสเตอรอลในอาหาร ไขมัน น้ำมันตับปลา 500 น้ำมันไก่ 107 น้ำมันหมู 85 น้ำมันจากเมล็ดพืช 0 มาการีน 0 ปลิงทะเล 0 ไข่ 1 (ฟอง) ไข่ 1 ฟอง 200 ไข่แดง 200 ไข่ขาว 0 ไข่นกกระทา 1 ฟอง 74

  33. เนื้อสัตว์ Mg./100 gm. Mg./100 gm. สมอง 3,000 เซี่ยงจี้หมู 400 ตับ , หัวใจ 400 กระเพาะ 150 ซี่โครงอ่อน 110 แฮม 100 เบคอน 215 ไส้กรอก 100 กุนเชียง 150 เนื้อหมูปนมัน 126 เนื้อหมูไม่ติดมัน 70 เนื้อแกะติดมัน 173 เนื้อวัวปนมัน 125 เนื้อแกะไม่ติดมัน 70 นกพิราบ 110 เนื้อกระต่าย 60 เนื้อหน้าอกไก่ 60 ขาไก่ 110 ตับไก่ 700 เนื้อเป็ด 70

  34. ปริมาณพิวรีนในอาหาร 100 กรัม หมวด 1 (0 – 15 มิลลิกรัม ) หมวด 2 (50 – 150 มิลลิกรัม ) หมวด 3 (150 มิลลิกรัมขึ้นไป ) เครื่องในทั้งหมด ปลาแอนโชนี่ ปลาซาร์ดีน น้ำสกัดจาก ได้แก่ ซุป น้ำต้มกระดูก ซ๊อสน้ำเนื้อ สมอง ผัก ไข่ ผลไม้ ขนมปัง น้ำนม ธัญพืช เนยแข็ง ไข่ปลา ปลาคาร์เวียร์ วุ้น เนย ไขมัน ลูกนัท น้ำมัน น้ำตาล ลูกกวาด เนื้อ ไก่ ปลา อาหารทะเล ผักโขม ถั่วแห้งชนิดต่างๆ ถั่วลันเตาสด ข้าวโอ๊ต ถั่วลันเตาแห้ง ผักรสฉุนๆ

  35. อาหารที่มีโซเดียม 1. อาหารตามธรรมชาติ สัตว์มีมากกว่าพืช 2. การถนอมอาหาร เช่นอาหารกระป๋อง อาหารหมักดอง อาหารเค็ม อาหารแห้ง 3. เครื่องปรุง เช่น เกลือ น้ำปลา เต้าเจี้ยว ซีอิ๊ว ซ๊อสปรุงรส กะปิ ปลาร้า ปลาเจ่า เต้าหู้ยี้ 4. อาหารสำเร็จรูปชนิดต่างๆ เช่นขนม 5. เบ็ดเตล็ด เช่นผงชูรสชนิดต่างๆ ผงฟู โซดาไบคาร์บอเน็ต ผงกันบูด 6. น้ำทุกชนิดนอกจากน้ำฝนหรือน้ำกลั่น

  36. ดัชนีความหนาของร่างกาย(Bodymass index) น้ำหนักตัว (กิโลกรัม) ดัชนีความหนาของร่างกาย = ส่วนสูง (เมตร)2 ค่าปกติ 18.5 - 24.9 กิโลกรัมต่อตารางเมตร

  37. น้ำหนักตัวที่เหมาะสม 172 = 55 - 73 173 = 56 - 74 174 = 57 - 75 175 = 57 - 76 176 = 58 - 77 177 = 58 - 78 178 = 59 - 79 179 = 60 - 80 180 = 61 - 81 181 = 61 - 82 182 = 62 - 82 183 = 63 - 83 184 = 63 - 84 159 = 47 - 62 160 = 48 - 63 161 = 48 - 64 162 = 49 - 65 163 = 50 - 66 164 = 50 - 67 165 = 51 - 67 166 = 52 - 68 167 = 52 - 69 168 = 53 - 70 169 = 53 - 71 170 = 54 - 72 171 = 54 - 72

  38. ธงโภชนบัญญัติ ข้าว แป้ง น้ำตาล และผลิตภัณฑ์จากแป้ง 8 - 12 ทัพพี ผลไม้ 3 - 5 ส่วน พืช , ผัก 4 - 6 ทัพพี น้ำ , นม 1 - 2 แก้ว เนื้อสัตว์ , ไก่, ถั่ว 6 - 12 ชต. น้ำมัน น้ำตาล เกลือ

  39. ปริมาณอาหารที่ควรได้รับใน 1 วัน

  40. ควรกินผัก ผลไม้ 5 ส่วนขึ้นไป/1วัน (5 กำมือ )

  41. ประโยชน์ • 1.ลดอัตราเสี่ยงของการเสียชีวิต ก่อนวัยอันควร - อายุยืนขึ้น - อัตราป่วยด้วยโรคหัวใจลดลง

  42. 2. เสริมสร้างระบบกระดูก ป้องกันโรคกระดูกผุ - ผัก ผลไม้ มีแร่ธาตุสูง

  43. 3. ลดอัตราเสี่ยงโรคหัวใจขาดเลือด - ลดได้ 31% ลดอัตราเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง - ลดได้ 11%

  44. 4.ลดความเสี่ยงโรคมะเร็ง4.ลดความเสี่ยงโรคมะเร็ง - มะเร็งต่อมลูกหมากในชาย - มะเร็งระบบทางเดินอาหาร - มะเร็งปอด

  45. 5. ป้องกันโรค - ความดันโลหิตสูง - เบาหวาน - อ้วน

  46. ฉะนั้นจึงควรบริโภค ผัก และ ผลไม้ - ปริมาน 5ส่วน - 5กำมือ หลวมๆ - ครึ่งกิโลกรัม ขึ้นไปทุกวัน

More Related