1 / 8

รายงาน เรื่อง การสร้างสุขภาพในชุมชน ด้วยการบริหารสุขภาพจิต จัดทำโดย ด.ญ.วาสนา สวัสดี

รายงาน เรื่อง การสร้างสุขภาพในชุมชน ด้วยการบริหารสุขภาพจิต จัดทำโดย ด.ญ.วาสนา สวัสดี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 เลขที่8 ครูประจำวิชา 1.ครูทัศนีย์ ไชยเจริญ 2. ครูศราวุธ ไชยเจริญ โรงเรียนวัดพวงนิมิต. การเสริมสุขภาพในชุมชนด้วยการบริหารสุภาพจิต

Download Presentation

รายงาน เรื่อง การสร้างสุขภาพในชุมชน ด้วยการบริหารสุขภาพจิต จัดทำโดย ด.ญ.วาสนา สวัสดี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รายงาน เรื่อง การสร้างสุขภาพในชุมชน ด้วยการบริหารสุขภาพจิต จัดทำโดย ด.ญ.วาสนา สวัสดี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 เลขที่8 ครูประจำวิชา 1.ครูทัศนีย์ ไชยเจริญ 2.ครูศราวุธ ไชยเจริญ โรงเรียนวัดพวงนิมิต

  2. การเสริมสุขภาพในชุมชนด้วยการบริหารสุภาพจิตการเสริมสุขภาพในชุมชนด้วยการบริหารสุภาพจิต • การส่งเสริมสุขภาพ เป็นทั้งกระบวนการ กิจกรรม และแนวทาง สำหรับการดำเนินงาน เกี่ยวกับสุขภาพ เพื่อส่งเสริม และเกื้อหนุนให้บุคคล ได้พัฒนาศักยภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชนในทุกด้าน แบบองค์รวมอย่างเป็นระบบ เนื่องจากสุขภาพนั้น เป็นองค์รวม ที่มาจากส่วนประกอบหลายๆ ประการ อาทิ สังคม สิ่งแวดล้อม ระบบบริการสุขภาพ และวิถีการดำเนินชีวิตของบุคคล เพื่อสนับสนุน ยับยั้ง หรือกำหนดพฤติกรรมสุขภาพ ไปสู่การปฏิบัติ จึงต้องอาศัยความร่วมมือ และการระดมพลังจากทุกฝ่าย ในการดูแลสุขภาพของตนเอง และการปรับปรุงสังคมด้านต่างๆ เช่น สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ การเมือง การศึกษา และอื่นๆ โดยใช้กลยุทธ์การถ่ายโอนอำนาจจากรัฐ มาสู่ประชาชน ให้มีพลังอำนาจที่จะดูแลสุขภาพ และจัดการกับชุมชนของตนเอง อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ

  3. แนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพในชุมชนแนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพในชุมชน •  รับประทานอาหาร  อย่างถูกต้องเหมาะสม                    สำคัญมากเพราะช่วงเช้าร่างกายขาดน้ำตาล ถ้าไม่รับประทานอาหารเช้าจะเกิดภาวะขาดน้ำตาลซึ่งจะมี    ผลทำให้ความคิดตื้อตันไม่ปลอดโปร่ง วิตกกังวล ใจสั่น อ่อนเพลีย หงุดหงิด โมโหง่าย มื้อเช้ารับประทานได้เช้า    ที่สุดยิ่งดี เพราะท้องว่างมานาน หากยังไม่มีอาหารให้ดื่มน้ำอุ่นหรือน้ำข้าวอุ่น ๆ     ก่อน ควรทานข้าวต้มร้อน ๆ จะช่วยให้ง่ายต่อการขับถ่ายอุจจาระ ถ้าจำเป็นต้องรับประทาน(สาย) ใกล้อาหารมื้อ    กลางวัน อย่ารับประทานมาก • .1 ขับถ่าย อุจจาระ ปัสสาวะ สม่ำเสมอทุกวัน • 2ใส่เสื้อผ้าให้เหมาะสม กับฤดูกาล เช่น หน้าหนาวก็ใส่เสื้อผ้าหนา ๆ สวมหมวก ถุงมือ ถุงเท้า         ขณะนอนตอนกลางคืนควรห่มผ้าปิดถึงอก.3ออกกำลังกาย ควรออกกำลังกายกลางแจ้งทุกวัน4.รักษาความสะอาดของสถานที่พักอาศัย เพื่อช่วยให้สิ่งแวดล้อมดี อากาศดี5รักษาอารมณ์ให้ปลอดโปร่ง แจ่มใสตลอดทั้งวัน และอย่าลืมนั่งสมาธิทุกวัน6พักผ่อนให้เพียงพอ เหมาะสมกับเพศ และวัยไม่ควรนอนดึกเกิน ๒๒.๐๐ น. ติดต่อกันหลายวัน7มีท่าทาง และอิริยาบถที่ถูกต้องเหมาะสม ในการทำงานในชีวิตประจำวัน

  4. การบริหารจิต   • พระพุทธศาสนาเน้นเรื่องการฝึกจิตเป็นสำคัญ เพราะมนุษย์มีจิตเป็นตัวนำการ กระทำทุกอย่าง จะต้องมีการพิจารณา คิดนึกตรึกตรองเสียก่อน   การฝึกจิตหรือการบริหารจิต จึงเป็นการกระทำเพื่อให้จิตมีสภาพตั้งมั่น มีสติระลึกได้ มีสัมปชัญญะรู้สึกตัวทั่วพร้อมตลอดเวลา                    การบริหารจิต คือ การฝึกฝนอบรมจิตใจให้ดีงาม นุ่มนวล อ่อนโยน มีความหนักแน่นมั่นคง แข็งแกร่งและมีความผ่อนคลายสงบสุข การบริหารจิตในทางพุทธศาสนามี 2 อย่าง                    1.สมถกรรมฐานหรือสมาธิภาวนา คือการฝึกจิตให้เกิดความสงบ เรียกว่า สมาธิ                    2.วิปัสสนากรรมฐาน คือการฝึกอบรมจิตให้เกิดปัญญา เป็นความรู้แจ้งเห็นจริงตามสภาพที่เป็นจริง • ผลของการบริหารจิต                    ทำให้เป็นคนที่มีสุขภาพจิตดี มีความรู้ความเข้าใจโลกและชีวิตได้ถูกต้อง คนเช่นนี้ไม่ว่าจะทำอะไรย่อมประสบความสำเร็จ อยู่ที่ใดก็ได้รับความสุขสงบแห่งจิตใจ เมื่อเผชิญกับปัญหาอุปสรรคต่างๆ ก็สามารถเอาตัวรอดได้ ไม่คิดสั้น                     การบริหารจิตตามหลักพระพุทธศาสนามีวิธีปฏิบัติมากถึง 40 วิธี แต่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ให้ฝึกปฏิบัติการบริหารจิตตามหลักสติปัฏฐาน

  5. ปัญหาสุภาพในชุมชน • โรคอ้วนโรคอ้วนเป็นโรคเรื้อรังที่บั่นทอนสุขภาพทั้งกายและใจ รวมทั้งเป็นปัจจัยเสี่ยงของโรคต่างๆ มากมาย ได้แก่ โรคเบาหวาน ไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคระบบทางเดินหายใจ โรคข้อเสื่อม และ ปัญหาทางจิตใจ โรค อ้วน เกิดตั้งแต่ในวัยเด็ก ควรป้องกันโรคนี้ตั้งแต่ในวัยเด็ก และต้องรักษาตั้งแต่เพิ่มเริ่มอ้วน มิฉะนั้นจะกลายเป็นโรคเรื้อรัง รุนแรง รักษายาก มีอันตรายต่อชีวิต • สิว สิวเป็นเรื่องของธรรมชาติที่พบบ่อยทุกเพศทุกวัย แต่สิวมักพบได้บ่อยในช่วงวัยรุ่น ซึ่งเป็นวัยที่กำลังมีการเปลี่ยนแปลงของร่างกายและจิตใจ เกิดจากการอุดตันของต่อมไขมันกลายเป็นหัวสิว พันธุกรรมมีส่วนกำหนดความรุนแรงของสิวในแต่ละคน ปัจจัยที่มีผลต่อการเป็นสิว ได้แก่ รอบเดือนและความเครียด ปัจจัยภายนอก เช่น แสงแดด ฝุ่น ความร้อน

  6. สรุป การส่งเสริมสุขภาพจิต • การส่งเสริมสุขภาพจิต เป็นการป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาสุขภาพจิต ต้องเริ่มตั้งแต่ทารกอยู่ในครรภ์มารดา หรือเริ่มตั้งแต่สถาบันครอบครัว ซึ่งเป็นสถาบันแห่งแรกที่มีอิทธิพลสำคัญต่อพฤติกรรมของบุคคล บุคลิกภาพและการปรับตัว ถ้าสภาวะภายในครอบครัวและสัมพันธภาพระหว่างสมาชิกในครอบครัวเป็นไปด้วยดี พ่อแม่ให้ความรักความเข้าใจ และเอาใจใส่ดูแลลูก มีความรู้ความเข้าใจในการอบรมเลี้ยงดูลูกอย่างเหมาะสม ครอบครัวนั้นย่อมจะสร้างเด็กที่มีชีวิตปกติสุข การบริหารสุขภาพจิต • การฝึกฝนอบรมจิตใจให้ดีงาม นุ่มนวล อ่อนโยน มีความหนักแน่นมั่นคง แข็งแกร่งและมีความผ่อนคลายสงบสุข การบริหารจิตในทางพุทธศาสนา

  7. คติประจำใจ ทำร้ายตัวเองทำไมแค่คนคนเดียว เก็บชีวิตไว้ให้กับคนที่ดีกว่านี้ดีกว่า

  8. แหล่งอ้างอิง http://www.bp-smakom.org/BP_School/Social/BUDDA/Ba-ri-Jit.htm

More Related