1 / 35

ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการความรู้

การบริหารองค์ความรู้ (Knowledge Management ) Dr.Pornphan PumiPu DMS. The CSTI of Thailand Explicit ี.

howell
Download Presentation

ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการความรู้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารองค์ความรู้ (Knowledge Management )Dr.Pornphan PumiPu DMS. The CSTI of Thailand Explicitี

  2. การบริหารองค์ความรู้(Knowledge Management )ความหมาย เป็นกระบวนการจัดการความรู้ ความสามารถ และทักษะอื่นๆ ที่มีอยู่ในองค์การมาบริหารเพื่อเพิ่มคุณค่าของกิจการภายในองค์การ ซึ่งต้องประกอบไปด้วยการค้นหา การจัดการ และประยุกต์ใช้ความรู้อย่างเป็นระบบต่อเนื่อง

  3. ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการความรู้ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการความรู้ 1. ความรู้ก่อกำเนิดและฝังอยู่ในความคิดของบุคคล 2.ความรู้ไม่ถูกจำกัดด้วยกฎแห่งความหาได้ยาก (Law of scarcity) เราสามารถนำกลับมาใช้ได้ตามความต้องการ

  4. ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการความรู้ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการความรู้ 3. ความรู้จะใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดหากนำมาแบ่งปันในองค์กร 4.วัฒนธรรมองค์กรเป็นปัจจัยที่สำคัญที่จะผลักดันให้มีการนำความรู้มาใช้ หรือการถ่ายโอนความรู้ในองค์

  5. กรอบความคิดเกี่ยวกับการจัดการความรู้กรอบความคิดเกี่ยวกับการจัดการความรู้ 1.การเข้าถึงความรู้ (Knowledge accessibility) 2. การสร้างความรู้ (Knowledge generation) 3. การสะสมความรู้ (Knowledge accumulation) 4. การแพร่กระจายความรู้ (Knowledge dissemination)

  6. กรอบความคิดเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (ต่อ) 5. การประยุกต์ใช้ความรู้ (Knowledge application) 6. การธำรงรักษาความรู้(Knowledge maintenance) 7.การสร้างวัฒนธรรมความรู้(Knowledge culture)

  7. การเปลี่ยนกรอบความคิดสำหรับการบริหารทรัพยากรมนุษย์การเปลี่ยนกรอบความคิดสำหรับการบริหารทรัพยากรมนุษย์

  8. วิธีส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้1. จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เช่น เวทีแลกเปลี่ยนความรู้ การจัดสถานที่ เช่น การจัด Knowledge Center (ทดลองก่อน) 2. นำเทคนิค และนวัตกรรม และเทคโนโลยีต่างๆ มาใช้ เช่น เทคนิค AAR “Learning to fly”(After Action Review ) เช่น 2.1หลักการจัดการความรู้อย่างง่าย คือ นำการดำเนินงานในชีวิตประจำ มาร่วมกันคิด แก้ปัญหาร่วมกัน 2.2 ประชุมแลกเปลี่ยน แก้ปัญหาร่วมกัน โดยผู้บริหารกระตุ้น ส่งเสริม 2.3 กำหนดวัน ความรู้ ส่งเสริม เปิดโอกาสให้ทุกคนมาร่วมแก้ปัญหา จัดเวทีการประกวดบทความ เล่าความสำเร็จ 2.4 จัดหน่วยงานตัวอย่าง เพื่อให้ลอกเลียนแบบ

  9. ทำไมองค์การต้องมีการจัดการความรู้1. โครงสร้างการบริหารขององค์กรไม่คล่องตัว และมีการปรับเปลี่ยนเพื่อ2. วัฒนธรรมองค์กรยังเป็นเชิงอนุรักษ์นิยม ไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปฏิบัติ3. การวางแผนและนำแผนไปใช้เชิงธุรกิจ (Business Plan)4. ขาดทักษะในการจัดการเชิงระบบ5. ขาดการจูงใจจากผู้นำที่มีความสามารถโน้มน้าวจิตใจคนอื่นให้ปฏิบัติตามด้วยความสมัครใจ

  10. ทำไมองค์การต้องมีการจัดการความรู้ (ต่อ) • 6. ขาดการเอื้ออำนาจ ผู้นำขาดการสร้างวัฒนธรรมการให้ความไว้วางใจกัน ขาดการยอมรับความผิดพลาดร่วมกัน7.ขาดการสนับสนุนทรัพยากรที่เหมาะสม และการอำนวยการ8. ไม่ยอมเผชิญความเสี่ยง (Risk Management) ซึ่งขาดการประเมินความเสี่ยงล่วงหน้า และวางมาตรการป้องกันไว้ล่วงหน้า

  11. ทำไมองค์การต้องมีการจัดการความรู้ (ต่อ) • 9. ขาดวิสัยทัศน์ หรือขาดการนำวิสัยทัศน์มาเป็นจุดร่วมกันเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ10. ขาดสมรรถนะที่เป็นเลิศ และความสามารถในการแข่งขัน

  12. กระบวนการจัดการความรู้1.การเข้าถึงความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร เพื่อเข้าให้ถึงความรู้ (Knowledge accessibility) อยู่ในองค์กร 2 ลักษณะ คือ1.1 ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge ) เช่น หนังสือ ตำรา วารสาร หนังสือต่าง ๆ VDO อยู่ใน electronic file ฯลฯ1.2 ความรู้ที่ฝังแน่นอยู่ในสมองคน (Tacit Knowledge) ฝังอยู่ในความคิด หรืออาจอยู่ในลักษณะที่แฝงอยู่ 2. การสร้างความรู้ นำเอาความรู้ที่ฝังแน่นอยู่ในตัวบุคคลมาใช้ การสร้างความสัมพันธ์ เพื่อสร้างความรู้ (Knowledge generation )3. การสะสมความรู้(Knowledge accumulation) โดยจัดหมวดหมู่ความรู้ ให้เหมาะแก่การใช้งาน 4. การถ่ายทอดความรู้(Knowledge dissemination) นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์

  13. AAR คือ การเรียนรู้ก่อนดำเนินการ เรียนรู้ระหว่างทำงาน และเรียนรู้ หลังทำงาน (After Action Review ) เป็นวิธีการที่จะสร้างความรู้ใหม่ให้เกิดขึ้น และนำไปใช้ได้จริง

  14. สร้างเครือข่ายความรู้กับโลกภายนอก1.มีระบบการรับรู้และตรวจสอบข่าวสารความก้าวหน้าของความรู้ลักษณะ intelligence 2.การแลกเปลี่ยนความรู้กับภาคี หรือเครือข่าย3.สกัดความรู้จากลูกค้า เชื่อมโยง โดยเฉพาะความรู้ที่ฝังลึกที่เกิดจากการใช้บริการ หรือผู้บริโภค

  15. กระบวนการจัดการความรู้ 9 ประการ1 .ค้นคว้าความรู้ การขุดค้นความรู้ ภายนอก ภายในองค์กร 2 .การสะสมความรู้ จัดหมวดหมู่ของความรู้ ให้เป็นระบบนำไป3.การถ่ายทอด/กระจายความรู้ (Transfer Knowledge) การแพร่กระจายความรู้ ใช้การสื่อสาร (communication)4.การสร้างบรรยากาศให้เกิดการเรียนรู้ เช่น จัดกิจกรรม เพื่อให้บุคคลในองค์กรเกิดการเรียนรู้ทุกรูปแบบ

  16. กระบวนการจัดการความรู้ 9 ประการ (ต่อ) 5. การปรับระดับความรู้ การสังเคราะห์ 6. ปรับปรุง ให้เกิดความรู้เชิงบูรณาการใหม่ 7. การสร้างความรู้ใหม่ (Knowledge generation ) 8. การนำมาบูรณาการ และการประยุกต์ใช้ 9. ธำรงรักษาไว้ (Knowledge maintenance)

  17. การบริหารองค์ความรู้ในภาคราชการตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา 11“ว่าด้วยการส่งเสริมให้ส่วนราชการมีการพัฒนาองค์ความรู้ เพื่อนำไปสู่การเรียนรู้ในองค์กร อย่างสม่ำเสมอ เน้นการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร สามารถประมวลความรู้ และนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง เหมาะกับสถานการณ์ รวมทั้งการส่งเสริมพัฒนาความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์ ปรับเปลี่ยนวัฒนธรรม ค่านิยม ทัศนคติของข้าราชการให้มีประสิทธิภาพ มีการเรียนรู้ร่วมกัน เพื่อปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับการบริหารราชการให้เกิดสัมฤทธิผลและการปฏิบัติงาน เพื่อประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน ”คู่มือการดำเนินงานของ ก.พ.ร.ตามพระราชกฤษฎีกา หมวดที่ 3 ว่าด้วยการพัฒนาระบบราชการ “การบริหารราชการเพื่อให้เกิดสัมฤทธิผลต่อการปฏิบัติภารกิจของรัฐ เน้นเรื่องการพัฒนาส่วนราชการให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้”ดังนี้

  18. การพัฒนาส่วนราชการให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ในการบริหารงานภาครัฐแนวใหม่ ส่วนราชการต้องพัฒนาความรู้ความสามารถให้เกิดความเชี่ยวชาญ สอดคล้องกับสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป มีการปรับเปลี่ยนแผนงาน เน้นสัมฤทธิผลของการดำเนินงาน โดยการปรับทัศนคติ และพฤติกรรมการปฏิบัติงาน เน้นการสร้างแนวคิดใหม่ ตามหลักวิชาการสมัยใหม่ พ.ร.ก. จึงกำหนดหลักการให้ส่วนราชการมีการพัฒนาความรู้ เพื่อนำไปสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยยึดแนวทาง .สร้างระบบให้มีการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร.ต้องสามารถประมวลความรู้ และประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดความเหมาะสมตาม สถานการณ์.ต้องส่งเสริม พัฒนาความรู้ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์ และปรับเปลี่ยนทัศนคติใหม่ เพื่อประสิทธิภาพสูงสุดแก่องค์กร.ต้องมีการสร้างความร่วมมือ ของข้าราชการเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้และนำมาปฏิบัติงานร่วมกัน เพื่อนำมาปฏิบัติงานให้เกิดประโยชน์สูงสุด

  19. เป้าหมายของการบริหารองค์ความรู้1. พัฒนางานให้มีคุณภาพและเกิดสัมฤทธิผลในการนำ ไป ปฏิบัติ2. เพื่อพัฒนาคนในองค์กร และข้าราชการทุกระดับ3. เพื่อพัฒนาฐานความรู้ ช่วยให้องค์กรเกิดศักยภาพ

  20. การพัฒนารูปแบบการบริหารองค์ความรู้ในหน่วยงานภาครัฐ (Best Practices)1.แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการกิจกรรม และกรรมการ ฝ่ายบริหาร2. จัดประชุมคณะกรรมเพื่อชี้แจงนโยบาย ปูพื้นความรู้ด้าน องค์กรแห่งการเรียนรู้ และการบริหารองค์ความรู้ภายใน องค์กรร่วมกันวางแผนเชิงกลยุทธ์ เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ

  21. จัดทำ Action Plan ความก้าวหน้า- รายงานการดำเนินงานการเรียนรู้ ผลที่เกิดจากการเรียนรู้- คณะกรรมการแลกเปลี่ยนความรู้กับคณะทำงาน และให้ ความรู้เพิ่มเติม- จัดทำคู่มือการปฏิบัติร่วมกัน- เปิดเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ และส่งเสริมบรรยากาศให้ เกิดการเรียนรู้- จัดเวทีพี่เลี้ยง การสอนงาน แชร์ประสบการณ์ เผยแพร่- จัดเวทีให้หน่วยงานอื่นเข้ามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกิดองค์กรแห่งการเรียนรู้

  22. การจัดการความรู้ตามแนวคิดของ Nonaka &Takeuchiแนวทางนำไปปฏิบัติ 7 ประการ คือ1. การสร้างวิสัยทัศน์เกี่ยวกับองค์ความรู้ในองค์กร2. การสร้างทีมจัดการความรู้3. การสร้างบรรยากาศของการแลกเปลี่ยนความรู้อย่างเข้มข้นใน กลุ่มพนักงานระดับล่าง4. จัดการความรู้ไปพร้อมกับการพัฒนาสินค้า/ วิธีการใหม่ หรือ พัฒนารูปแบบการทำงาน5. เน้นการจัดการความรู้แบบใช้พนักงานระดับกลางเป็นตัว ขับเคลื่อน (Middle-up down management)6. เปลี่ยนองค์กรไปเป็นแบบ “พหุบาท” (Hypertext)7. สร้างเครือข่ายความรู้กับโลกภายนอก

  23. การสร้างวิสัยทัศน์เกี่ยวกับองค์ความรู้ในองค์กรผู้บริหารต้องสร้างวิสัยทัศน์ เพื่อสื่อสารให้ทุกคนได้รู้ เป็นค่านิยมร่วม นำไปสู่การปฏิบัติทัศน์ ต้องเปิดโอกาสให้ทุกคนมีส่วนร่วม รู้สึกผูกพัน นำไปสู่วิสัยทัศน์นั้น เช่น วิสัยทัศน์ของ สกว สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ

  24. สร้างทีมจัดการความรู้ขององค์กรทีมจัดการความรู้ ประกอบด้วยบุคคล 3 กลุ่ม1 .ผู้ปฏิบัติจัดการความรู้ ได้แก่ พนักงานปฏิบัติหรือทีมรับผิดชอบโดยตรง2 .ผู้บริหารระดับกลาง เป็นผู้ขับเคลื่อน3 .ผู้บริหารระดับสูงขององค์กร

  25. ผู้ปฏิบัติจัดการความรู้ ทำหน้าที่หลัก 4 ประการ1. การเสาะหาความรู้ 2 . การสร้างความรู้ 3. การสั่งสมความรู้ 4. การใช้ความรู้

  26. ผู้ปฏิบัติต้องทำงานร่วมกับผู้เชี่ยวชาญความรู้ • บทบาทหลักคือการนำเอาความรู้ที่ฝังอยู่ในตัวของพนักงานและองค์กร ระดับปฏิบัติมาแลกเปลี่ยนกับความรู้ที่ชัดแจ้ง เพื่อให้เกิดการนำความรู้ไปสู่การบูรณาการ ผู้เชี่ยวชาญทำหน้าที่เปิดเผยความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) ไปเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ให้ค้นหา จัดหมวดหมู่ และเพื่อจัดส่งให้พนักงานได้ง่าย

  27. ผู้บริหารระดับกลาง มีหน้าที่ - แปลงความรู้ที่ฝังลึก ความรู้ที่เปิดเผย จับต้องได้ - เป็นตัวกลาง นำวิสัยทัศน์ผู้บริหารระดับสูง เป็นความรู้ที่เปิดเผยชัดแจ้ง - นำความรู้มาแชร์ สู่วิสัยทัศน์ระดับบุคคล สู่การ ปฏิบัติ - แปลงความรู้ หรือเกลียวความรู้ที่ฝังลึก เปิดเผย ใน ข้ามหน่วยงาน

  28. การหมุนเกลียวความรู้ Tacit Socialization Externalization Tacit Explicit Internalization Combination Explicit

  29. ผู้บริหารระดับสูงขององค์กรทำหน้าที่ 3 ประการ คือ1.กำหนดเป้าหมายของการจัดการความรู้ เช่น วิสัยทัศน์เกี่ยวกับการจัดการความรู้ 2.สร้างบรรยากาศ/กติกาขององค์กรที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 3.คอยจับความรู้ที่ทรงคุณค่า ที่พัฒนาขึ้นในกระบวนการเกลียวความรู้ (Knowledge Spiral) ขององค์กรในลักษณะ ( New paradigm)

  30. การสร้างบรรยากาศของการแลกเปลี่ยนความรู้อย่างเข้มข้นในกลุ่มพนักงานระดับล่างการสร้างบรรยากาศเป็นบริบทที่สำคัญขององค์กรที่จะสร้างประสบการณ์ให้ทุกคนเกิดการเรียนรู้โดยตรง เช่น การจัดให้ไปดูงาน เรียนรู้โดยสัมผัสบรรยากาศภายนอก เน้นความรู้ที่ฝังลึก กระบวนการ Socilaization

  31. จัดการความรู้ไปพร้อมกับการพัฒนาสินค้าวิธีการใหม่ /พัฒนารูปแบบการทำงานการจัดการความรู้ควบคู่พัฒนา ประสิทธิผล (Effectiveness) ของงาน ในการจัดการสมัยใหม่ หมายถึง การจัดการเพื่อให้เกิดประสิทธิผล 4 ประการคือ 1 ตอบสนองลูกค้า 2. มีนวัตกรรม 3. มีการพัฒนาและใช้ศักยภาพ Competency อย่างเต็มที่ 4. มีประสิทธิภาพ (efficiency)

  32. การจัดการของ Nonaka&Takeuchi • ใช้หลักการบริหาร Middle - up –down เน้น ผบ.กลางเป็นผู้ขับเคลื่อนกระบวนการบริหารภายในองค์กร เชื่อว่า ผบ.กลางคือผู้เชื่อมโยงการปฏิบัติที่ดี เป็นผู้ขับเคลื่อน เชื่อมโยง และทำให้องค์กรเกิดการเรียนรู้ได้ดี

  33. เปลี่ยนองค์กรไปเป็นแบบ “พหุบาท”(Hypertext)องค์กรพหุบาท คือองค์กรที่มีหลายบริบท (context) อยู่ในเวลาเดียวกัน( Hyper-context ) คือการจัดการความรู้ แบบหมุนเวียนอยู่ระหว่างชั้นต่างๆ ให้เกื้อกูลกันและกัน เกิดการจัดการความรู้ที่ทรงพลัง

  34. บริบทของพหุบาท ได้แก่1. บริบทตามปกติเป็นรูปแบบองค์กรพีรามิดเดิม (bureaucracy) 2. บริบทของ Project Team ร่วมทำงานเพื่อเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่งแล้วสลายตัว 3. บริบทฐานความรู้ Knowledge base คอยสกัด รวบรวม และสังเคราะห์ ยกระดับความรู้ จาก1-2 บริบท อำนวยความสะดวก จัดการความรู้ ของ จนท.ทุกระดับ

  35. สร้างเครือข่ายความรู้กับโลกภายนอกมีประเด็นที่เกี่ยวข้องอยู่ 3 ประการคือ 1.การมีระบบการรับรู้และตรวจสอบข่าวสารความก้าวหน้าของความรู้ลักษณะ intelligence 2.การแลกเปลี่ยนความรู้กับภาคี หรือเครือข่าย 3.สกัดความรู้จากลูกค้า หรือเชื่อมโยงความรู้จากผู้ใช้บริการ โดยเฉพาะความรู้ที่ฝังลึกที่เกิดจากการใช้บริการ หรือผู้บริโภค

More Related