550 likes | 2.02k Views
บทที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและข่าวสาร. ( การวัดการกระจาย ). การวัดการกระจาย. จากข้อมูลการสอบวิชาสถิติ คะแนนสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ 50 ,68,70,76,66 x = คะแนนสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ 30 ,96,89,66,49 x =. เพราะฉะนั้นการวัดการกระจาย ทำเพื่อให้ทราบว่าข้อมูลชุดใดมีการกระจายมากน้อยเพียงไร
E N D
บทที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและข่าวสาร (การวัดการกระจาย)
การวัดการกระจาย จากข้อมูลการสอบวิชาสถิติ คะแนนสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ 50,68,70,76,66 x = คะแนนสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ 30,96,89,66,49 x =
เพราะฉะนั้นการวัดการกระจาย ทำเพื่อให้ทราบว่าข้อมูลชุดใดมีการกระจายมากน้อยเพียงไร -ถ้าข้อมูลที่มีการกระจายมาก แสดงว่าข้อมูลชุดนั้น ประกอบไปด้วย ค่ามากและค่าน้อยคละกัน - ถ้าข้อมูลมีการกระจายน้อย แสดงว่าข้อมูลชุดนั้น ประกอบไปด้วย ค่าไล่เลี่ยกัน
สรุปได้ว่า การวัดการกระจายของข้อมูลชุดใด คือ การศึกษาความเบี่ยงเบนของข้อมูลชุดนั้น ซึ่งเบี่ยงเบนออกไปจากค่ากลาง
การวัดการกระจายของข้อมูล มีดังนี้ • พิสัย (Range) ** • ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ** • ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย (Mean Deviation) • ส่วนเบี่ยงเบนควอว์ไทล์ (Quartile Deviation) ** • สัมประสิทธิ์การแปรผัน
พิสัย (Range) 1. ข้อมูลแบบไม่จัดหมู่ พิสัย = ค่าสูงสุดของข้อมูล – ค่าต่ำสุดของข้อมูล จากตัวอย่าง จะได้ พิสัยของข้อมูลชุดที่ 1 = 76-50 = 26 พิสัยของข้อมูลชุดที่ 2 = 96-30 = 66
2. ข้อมูลแบบจัดหมู่ สามารถหาพิสัย ได้ 2 วิธี คือ วิธีที่ 1 พิสัย =ขีดจำกัดบนที่แท้จริงของชั้นที่มีค่าสูงสุด – ขีดจำกัดล่างที่แท้จริงของชั้นที่มีค่าต่ำสุด วิธีที่ 2 พิสัย = จุดกึ่งกลางของชั้นที่มีค่าสูงสุด – จุดกึ่งกลางของชั้นที่มีค่าต่ำสุด
ตัวอย่าง จากข้อมูลในตาราง
วิธีทำ วิธีที่ 1 พิสัย = ขีดจำกัดบนที่แท้จริงของชั้นที่มีค่าสูงสุด – ขีดจำกัดล่างที่แท้จริงของชั้นที่มีค่าต่ำสุด = 174.5-139.5 = 35 วิธีที่ 2 พิสัย = จุดกึ่งกลางของชั้นที่มีค่าสูงสุด – จุดกึ่งกลางของชั้นที่มีค่าต่ำสุด = 172-142 = 30
ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เป็นการวัดการกระจายที่นิยมมากที่สุด - ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานที่คำนวณได้จากกลุ่มตัวอย่างใช้สัญลักษณ์ S หรือ S.D. - ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานที่คำนวณได้จากกลุ่มประชากรใช้สัญลักษณ์ σ
สูตรที่ใช้ในการคำนวณค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลที่ไม่จัดเป็นหมู่สูตรที่ใช้ในการคำนวณค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลที่ไม่จัดเป็นหมู่ หรือ *** เมื่อ σ คือ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร คือ ข้อมูลตัวที่ i µ คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของประชากร N คือ จำนวนข้อมูลทั้งหมด
2. สูตรที่ใช้ในการคำนวณค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลที่จัดเป็นหมู่ หรือ *** เมื่อ σ คือ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร คือ ข้อมูลตัวที่ i µ คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของประชากร N คือ จำนวนข้อมูลทั้งหมด คือ ความถี่ของแต่ละชั้น k คือ จำนวนชั้น
ตัวอย่าง จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ 2 , 3, 4, 5, 6 วิธีทำจาก = 1.41
ตัวอย่าง จงหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่าจ้างรายวันของลูกจ้าง 65 คน ของบริษัท P&A
วิธีทำจาก = 7.80
ส่วนเบี่ยงเบนควอว์ไทส์ (Quartile Deviation) เป็นการวัดการกระจายโดยแบ่งข้อมูลออกเป็น 4 ส่วนเท่าๆ กัน แต่ละส่วน จะประกอบด้วยข้อมูล 25% การวัดการกระจายโดย ถ้าข้อมูลมีการกระจายมาก ควอไทล์ที่ 1 ( ) และ คลอไทล์ที่ 3 ( ) จะต่างกันมาก โดยเราคำนวณจากสูตร โดย ตำแหน่งของควอไทล์ ที่ 1 ตำแหน่งของควอไทล์ ที่ 3
การหาค่าเบี่ยงเบนควอไทส์เมื่อข้อมูลไม่จัดกลุ่มการหาค่าเบี่ยงเบนควอไทส์เมื่อข้อมูลไม่จัดกลุ่ม ตัวอย่างจงหาค่าเบี่ยงเบนควอไทล์จากข้อมูล 10,5,4,9,12,15,7 วิธีทำ หา และ เรียงลำดับข้อมูลจากน้อยไป มากดังนี้ 4,5,7,9,10,12,15 ตรงกับตำแหน่งที่ ตรงกับตำแหน่งที่
จากสูตร ค่าเบี่ยงเบนควอไทล์ = 3.5
ตัวอย่าง จากข้อมูลจงหาส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ 10,12,14,11,9,7,15,18,22,100 วิธีทำ เรียงข้อมูลจากมากไปหาน้อย 7,9,10,11,12,14,15,18,22,100 จะได้ ตำแหน่ง ตำแหน่ง
ค่าเบี่ยงเบนควอไทส์ เท่ากับ 4.625
การหาค่าเบี่ยงเบนควอไทล์เมื่อข้อมูลจัดเป็นกลุ่มการหาค่าเบี่ยงเบนควอไทล์เมื่อข้อมูลจัดเป็นกลุ่ม ในกรณีนี้ และ หาได้เช่นเดียวกับมัธยฐาน โดยใช้สูตรดังนี้ โดยที่ โดยที่
ตัวอย่าง จงหาส่วนเบี่ยงเบนควอว์ไทล์
วิธีทำ หาตำแหน่ง และ =30.75 จากสูตร
สรุป ในการทำงานวิจัยส่วนมาก ผู้วิจัยมักใช้การวัดแนวดโน้มเข้าสู่ส่วนกลางควบคู่กับการวัดการกระจาย ดังนี้ - ใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ควบคู่กับ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน - ใช้มัธยฐาน ควบคู่กับ ค่าเบี่ยงเบนควอไทล์ - ใช้ฐานนิยม ควบคู่กับ พิสัย
การวัดการกระจายสัมพัทธ์การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ตัวอย่าง เช่น ข้อมูลชุดที่ 1 3, 5 , 7 , 8 ,10 ข้อมูลชุดที่ 2 4,500 4,502 4,503 4,505 4,510 ข้อมูลชุดที่ 1 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.42 ข้อมูลชุดที่ 2 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.41
จากการวัดการกระจายทั้ง 3 แบบที่กล่าวมาแล้ว หาสัมประสิทธิ์ของการกระจายได้ดังนี้ ถ้าการกระจายวัดด้วยพิสัย สัมประสิทธิ์การกระจาย ถ้าการกระจายวัดด้วยความเบี่ยงเบนควอไทล์ สัมประสิทธิ์การกระจาย
ถ้าการกระจายวัดด้วยความเบี่ยงเบนมาตรฐานถ้าการกระจายวัดด้วยความเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์การกระจาย
ตัวอย่าง จากผลการสอบวิชาคณิตศาสตร์ ของนักศึกษา หมู่ 1 และ หมู่ 2 ในมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีปรากฏผล ดังนี้ จงเปรียบเทียบการกระจายของคะแนนของนักศึกษา หมู่ 1 และ หมู่ 2 - โดยวัดการกระจายด้วยพิสัย - โดยวัดการกระจายด้ายค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน