1 / 31

The Best Financial Planner

The Best Financial Planner.

honey
Download Presentation

The Best Financial Planner

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. The Best Financial Planner • The best financial planner are people that know how to research and create target lists and spend a lot of time doing it. Olympic Athletes prepare and train for years before they compete in the Olympics. Make sure you do your preparation and create a high quality target list before you start selling!

  2. 2.Insurance Planning Income Protection Retirement Planning Education Planning Accident & Health Tax Planning 1.Cash Flow & Budget Need Analysis The Financial Planning Process

  3. สิ่งที่ควรรู้สำหรับที่ปรึกษาทางการเงินสิ่งที่ควรรู้สำหรับที่ปรึกษาทางการเงิน 3. ภาษี (Tax) 2. การเงินการลงทุน (Finance & Investment) 1. การประกัน (Insurance)

  4. สิ่งที่แน่นอนในโลกนี้ คือ ความตายและภาษี ” เบ็นจามิน แฟรงคลิน

  5. Revenue Revenue Expense Expense Statement of Cash Flow *ค่าเช่าบ้าน *ปัจจัย 4 *ค่าผ่อนบ้าน *ค่าผ่อนรถ *ค่าเล่าเรียน *ค่าเสื้อผ้า *ค่าพักผ่อน *เงินเดือน*BONUS *มรดก ค่าใช้จ่ายแท้จริง ค่าเบี้ยประกัน CONTINGENCY REVENUE ค่าเบี้ยประกัน ค่าใช้จ่ายไม่แท้จริง

  6. ภาษีที่เกี่ยวข้อง • ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา • ภาษีเงินได้นิติบุคคล • ภาษีมูลค่าเพิ่ม • ภาษีธุรกิจเฉพาะ • ภาษีระหว่างประเทศ

  7. การวางแผนภาษี (Tax Planning) การหลบหนีภาษี (Tax Evasion) คือ การหาแนวทางการประหยัดภาษีโดยชอบด้วยกฏหมาย ไม่ใช่ คือ การหนีภาษีที่เป็นการผิดกฏหมาย ทั้งแพ่งและอาญา

  8. ปัจจัยในการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาปัจจัยในการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา • เงินได้พึงประเมิน • ค่าใช้จ่าย • ค่าลดหย่อน • เงินบริจาค • เงินได้สุทธิ • อัตราภาษีก้าวหน้า

  9. การคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เงินได้พึงประเมิน 40(1),(2) หักค่าใช้จ่าย 40%ไม่เกินหกหมื่นบาท หักค่าลดหย่อน ส่วนตัว/คู่สมรส/บุตร/บิดามารดา/ดอกเบี้ย/ประกันสังคม/ประกันชีวิต/กสช.,RMF/LTF หักเงินบริจาค ไม่เกิน 10%ของเงินได้หลังหักคชจ./คลย. เงินได้สุทธิ คูณอัตราภาษีก้าวหน้า

  10. กลยุทธ์ในการวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากลยุทธ์ในการวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา • ทำอย่างไรให้เงินได้พึงประเมินน้อยลง • * พิจารณากำหนดแหล่งเงินได้ที่ได้รับจากต่างประเทศ • * พิจารณากำหนดเวลาที่จะรับเงินได้หรือเลื่อนเงินได้ที่จะได้รับออกไป • (Deferred Payment) • * พิจารณาว่ามีเงินได้ประเภทใดที่ได้รับการยกเว้นภาษีทางกฏหมาย • * พิจารณากำหนดผลประโยชน์อื่น ๆ ในรูปสวัสดิการที่ไม่ใช่เป็นตัวเงิน • * พิจารณากำหนดหน่วยภาษีขึ้นใหม่ หรือ กระจายรายได้ที่จะได้รับให้กับบุคคลอื่น

  11. กลยุทธ์ในการวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากลยุทธ์ในการวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา • ทำอย่างไรให้ค่าใช้จ่ายสูงขึ้น • * พิจารณาว่ามีกฏหมายอนุญาติให้หักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมาได้ในอัตราใด • สำหรับเงินได้ประเภทใด • ทำอย่างไรให้ค่าลดหย่อนสูงขึ้น • * พิจารณากำหนดประเภทค่าลดหย่อนตามกฏหมาย • * พิจารณาค่าลดหย่อนจากเงินบริจาค เพื่อการกุศลสาธารณะ

  12. ค่าลดหย่อน ( ปีภาษี2549) • ส่วนตัวผู้เสียภาษีและคู่สมรส คนละ 30,000บาท • บุตร 3คนๆละ 15,000-17,000บาท • บิดาและมารดาของผู้เสียภาษี คนละ30,000บาท • กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ/RMF • ประกันสังคม • LTF • เบี้ยประกันชีวิต • ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อที่อยู่อาศัย • เบี้ยประกันกรมธรรม์ลูกกตัญญู.

  13. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

  14. ผลประโยชน์ทางภาษีจากการซื้อประกันชีวิตผลประโยชน์ทางภาษีจากการซื้อประกันชีวิต

  15. ผลประโยชน์ทางภาษีจากการซื้อประกันชีวิตผลประโยชน์ทางภาษีจากการซื้อประกันชีวิต • เงินสินไหม , ค่าชดเชย , เงินคืน , เงินปันผล ที่ได้รับจากบริษัทประกันชีวิตตามสัญญากรมธรรม์ ได้รับการยกเว้น ไม่ต้องนำมารวมเป็นเงินได้พึงประเมิน

  16. จุดเด่นของกองทุนมรดก (HERITAGE FUND) • ถ่ายโอนทรัพย์สินสู่คนที่เรารัก โดยไม่ต้องทำพินัยกรรม ไม่ต้องเสียเวลาร้องศาล เพื่อตั้งผู้จัดการมรดก • ไม่ต้องมีผู้จัดการมรดกมาจัดการทรัพย์สิน • ผู้รับโอนไม่มีค่าใช้จ่าย , ไม่ต้องเสียภาษี • ใช้เงินก้อนเล็กสร้างเงินก้อนใหญ่ คุ้มครองทั้งมรณะกรรมและทุพพลภาพ (Death & Disability) เปลี่ยนกองทุนเป็นเงินสดได้

  17. ความคุ้มครองชีวิต อายุผู้เอาประกันครบ 99 ปี 20 99 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 - ระยะเวลาคุ้มครอง ระยะเวลาชำระเบี้ย (1-20 ปี) แบบตลอดชีพ ชำระเบี้ย 20 ปี ไม่มีเงินปันผล – 20 PLNP

  18. เปรียบเทียบการวางแผนประหยัดภาษีเปรียบเทียบการวางแผนประหยัดภาษี ข้อพิจารณา Type Life Insurance RMF LTF ความเสี่ยง ไม่มีความเสี่ยง มีความเสี่ยงจากความ ผันผวน ของอัตรา ดอกเบี้ย / หุ้น มีความเสี่ยงมากจากการ ผันผวนของตลาดหุ้น ระยะเวลา นาน ตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป นาน ตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป หรืออายุ 55 ปี ปานกลาง 5 ปีบัญชีหรือ ประมาณ 3 ปีเศษ ค่าลดหย่อนสูงสุด 50,000 บาท มีแนวโน้ม จะได้เพิ่มขึ้น ในอนาคต 300,000 บาท แต่ต้อง ไม่เกิน 15 %ของเงินได้ (รวมเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ) 300,000 บาท แต่ต้อง ไม่เกิน 15 %ของเงินได้ ข้อผูกพัน ออมทุกปี ซื้อทุกปี ขั้นต่ำ 3% ของเงินได้ หรือ 5,000บาท ไม่ต้องซื้อทุกปี เบี้ยปรับ /บทลงโทษ ไม่มี เรียกผลประ โยชน์ทางภาษีคืน เรียกผลประ โยชน์ทางภาษีคืน ผลตอบแทน แน่นอน +ผล ประโยชน์ประกันชีวิต ค่ารักษาพยาบาล ไม่แน่นอน ขึ้นอยู่กับ NAV ของ กองทุนที่ลงทุน ไม่แน่นอน ขึ้นอยู่กับ NAV ของ กองทุนที่ลงทุน จำนวนภาษี ที่ประหยัดได้ ขึ้นอยู่กับฐาน ภาษี ตั้งแต่ 5 – 37 % ขึ้นอยู่กับฐาน ภาษีและรายได้ ตั้งแต่ 5 – 37 % ขึ้นอยู่กับฐาน ภาษีและรายได้ ตั้งแต่ 5 – 37 %

  19. Case#1: นัท & เต๋า • เต๋ากับนัททำงานเป็นพนักงานในบริษัทRSGM ได้รับเงินเดือนเดือนละ 80,000และ100,000 บาทตามลำดับ จ่ายเงินเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพคนละ144,000และ180,000 บาทต่อปีตามลำดับ ทั้งคู่มีบุตรหนึ่งคนอยู่อนุบาลแกรมมี่ นายเต๋ามีวงเงินกู้ซื้อบ้านกับธนาคารกรุงเทพ 1 ล้านบาท จ่ายดอกเบี้ย 90,000 บาทต่อปี ในฐานะที่ปรึกษาทางการเงิน ท่านควรแนะนำให้ทั้งคู่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีอย่างไรและมีวิธีการใดที่ทำให้ทั้งคู่ได้ประโยชน์ทางภาษีมากที่สุด.

  20. ยื่นรวม เต๋า + นัท เงินได้พึงประเมิน 2,160,000 หักค่าใช้จ่าย (120,000) หักค่าลดหย่อน ส่วนตัว (60,000) บุตร (17,000) กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (324,000) ดอกเบี้ยเงินกู้ (50,000) เงินได้สุทธิ 1,589,000 ภาษีที่ต้องชำระ 316,700 ยื่นรวมจะเสียภาษีรวม 316,700 บาท

  21. แยกยื่น เต๋า นัท เงินได้พึงประเมิน 960,000 หักค่าใช้จ่าย (60,000) หักค่าลดหย่อน ส่วนตัว (30,000) บุตร (8,500) กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ(144,000) ดอกเบี้ยเงินกู้ (50,000) เงินได้สุทธิ 667,500 ภาษีที่ต้องชำระ 73,500 1,200,000 (60,000) (30,000) (8,500) (180,000) - 921,500 124,300 แยกยื่นจะเสียภาษีรวม 197,800 บาท

  22. Case#2: น้องเดียว • น้องเดียวชนะการแข่งขันเกมทศพักตร์ได้รับรางวัลบ้านพร้อมที่ดินมูลค่า 5,000,000 บาทและเงินรางวัลอีก 2,000,000 บาท พร้อมตั๋วเครื่องบินไป-กลับกรุงเทพ-ยุโรปมูลค่า 250,000 บาท รวมของรางวัลมูลค่า 7,250,000 บาท ในวันนัดหมายให้ไปรับของรางวัล บริษัทต่างๆที่เป็นสปอนเซอร์ได้แจ้งว่าขอหักภาษี ณ ที่จ่ายไว้ 5%ของเงินรางวัล.และเตือนน้องเดียวว่าอย่าลืมไปเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาด้วย น้องเดียวเป็นเด็กไม่เคยเสียภาษีมาก่อน หากท่านเป็นที่ปรึกษาทางการเงินท่านจะแนะนำน้องเดียวอย่างไรให้ได้ประโยชน์มากที่สุด

  23. บทนัดหมายโครงการประหยัดภาษีบทนัดหมายโครงการประหยัดภาษี • สวัสดีครับ ผม/ดิฉัน...........จากบริษัทอเมริกันอินเตอร์แนชชั่นแนลแอสชัวรันส์ จำกัด ขอเวลาสัก 3 นาทีนะครับ. ไม่ทราบว่าตอนนี้มีที่ปรึกษาท่านใดได้แนะนำส่วนโครงการที่จะทำให้ท่านได้ประหยัดภาษีบ้างไหมครับ เป็นสิ่งที่ดีมากนะครับที่ท่านจะได้รับผลประโยชน์ที่ควรได้อย่างเต็มที่ • ผม/ดิฉันขออนุญาตไปพบเพื่อนำสิ่งดีๆเหล่านี้ไปให้ครับ ไม่ทราบว่าวันอังคารสิบโมงเช้าหรือวันพุธบ่ายสองโมงดีครับ?

  24. การวางแผนภาษีนิติบุคคลการวางแผนภาษีนิติบุคคล วัตถุประสงค์ 1.) เพื่อให้ธุรกิจประหยัดภาษีเงินได้นิติบุคคล 2.) โดยการจ่ายเบี้ยประกันให้กรรมการ 3.) เป็นการจ่ายเงินผ่านระบบของบัญชีอย่างถูกต้อง ตามกฎหมายและแนววินิจฉัยจากสรรพากร ตามข้อหารือหนังสือเลขที่ กค0811/408และ กค0706/4227

  25. แนววินิจฉัยของกรมสรรพากรแนววินิจฉัยของกรมสรรพากร เรื่องภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีบริษัทจ่ายเบี้ยประกันชีวิตให้กรรมการ • ต้องเป็นเงินค่าเบี้ยประกันชีวิตที่บริษัทฯ จ่ายให้กรรมการตามมติที่ประชุมของบริษัท • ต้องจ่ายให้กับกรรมการทุกคนเป็นการทั่วไปตามระเบียบของบริษัท • บริษัทฯมีสิทธินำเบี้ยประกันชีวิตที่ออกให้นั้นมาหักเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไร • สุทธิ เพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลได้ • เงินค่าเบี้ยประกันชีวิตที่บริษัทฯออกให้เข้าลักษณะเป็นประโยชน์เพิ่ม คือเป็นเงินได้ • พึงประเมินตามมาตรา 40 (1)ไม่ว่าผู้รับประโยชน์ตามกรมธรรม์จะเป็นบริษัท ฯ • หรือญาติพี่น้องของกรรมการก็ตาม

  26. แนววินิจฉัยของสรรพากรแนววินิจฉัยของสรรพากร • เงินค่าภาษีอากรที่บริษัทฯออกให้ ถือเป็นรายจ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการประกอบกิจการ • นำมาหักเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลได้ • เงินค่าภาษีอากรที่บริษัทฯออกให้ เข้าลักษณะประโยชน์เพิ่ม ถือเป็นเงินได้พึงประเมินตาม • มาตรา 40 (1) • ค่าสินไหมทดแทนหรือเงินได้จากการประกันภัย หรือผลประโยชน์ที่บริษัทประกันชีวิตจ่ายคืน • ได้รับยกเว้นไม่ต้องนำมารวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ • 8. การบันทึกบัญชีของบริษัทฯให้ถือปฏิบัติมาตราฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป

  27. ผลประโยชน์ที่ได้รับ • เปลี่ยนภาษีเป็นเงินได้หมายถึงสามารถประหยัดภาษีเงินได้นิติบุคคลให้กับบริษัทเท่ากับบริษัทมีรายได้เพิ่มขึ้น • 2.เปลี่ยนรายจ่ายเป็นเงินออมหรือความคุ้มครองหมายถึงรายได้ที่เพิ่มขึ้นของบริษัท ถูกนำไปเป็นเงินออมหรือความคุ้มครองของกรรมการ

  28. ขาย 5,000,000 ต้นทุนสินค้า 3,000,000 กำไรขั้นต้น ( Margin) 2,000,000 ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน 1,000,000 ภาษี (Tax)30% 300,000 งบกำไรขาดทุน 31 ธันวาคม 2548 1,000,000 กำไรก่อนหักภาษี (EBT) 700,000 กำไรสุทธิ (Net Profit)

  29. ขาย 5,000,000 ต้นทุนสินค้า 3,000,000 กำไรขั้นต้น ( Margin) 2,000,000 ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน 1,000,000 ภาษี (Tax)30% 225,000 งบกำไรขาดทุน 31 ธันวาคม 2548 เบี้ยประกันชีวิต 250,000 กำไรก่อนหักภาษี 750,000 (EBT) กำไรสุทธิ (Net Profit) 525,000

  30. เปรียบเทียบภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ต้องชำระเปรียบเทียบภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ต้องชำระ • ก่อนเข้าโครงการ เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล300,000 บาท • 2.หลังเข้าโครงการ เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล225,000 บาท • * ประหยัดภาษีได้ 75,000 บาท

  31. จบแล้วครับ

More Related