1 / 42

นายณรงค์ศักดิ์ พรมวัง 533 JCe201 นายพิเชษฐ เทบำรุง 533 JCe207

นายณรงค์ศักดิ์ พรมวัง 533 JCe201 นายพิเชษฐ เทบำรุง 533 JCe207. การวิเคราะห์สหสัมพันธ์คาโนนิคอล

holmes-vang
Download Presentation

นายณรงค์ศักดิ์ พรมวัง 533 JCe201 นายพิเชษฐ เทบำรุง 533 JCe207

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นายณรงค์ศักดิ์ พรมวัง 533JCe201 นายพิเชษฐ เทบำรุง 533JCe207

  2. การวิเคราะห์สหสัมพันธ์คาโนนิคอลการวิเคราะห์สหสัมพันธ์คาโนนิคอล หมายถึง เทคนิคการวิเคราะห์ตัวแปรพหุคูณวิธีหนึ่ง ซึ่งพัฒนามาจากการวิเคราะห์แบบ ถดถอยพหุคูณ(Multiple Regression Analysis) การวิเคราะห์ไม่มีการแบ่งแยกตัวแปรออกเป็นตัวแปรอิสระและตัวแปรตามในลักษณะเป็นรายตัว แต่เป็นการแบ่งตัวแปรทั้งหมดในข้อมูลชุดเดียวกันออกเป็น 2 ชุด คือ ชุดของตัวแปรอิสระหรือตัวแปรทำนายและชุดของตัวแปรตามหรือตัวแปรเกณฑ์

  3. วัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์สหสัมพันธ์คาโนนิคอลวัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์สหสัมพันธ์คาโนนิคอล การสร้างตัวแปรคาโนนิคอล โดยให้ตัวแปรคาโนนิคอลเป็นฟังก์ชันเชิงเส้นของตัวแปรเดิมในแต่ละชุด แล้วคำนวณหาค่าสหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรคาโนนิคอล หรือเรียกว่า สหสัมพันธ์คาโนนิคอล (Canonical Correlation)

  4. ข้อตกลงเบื้องต้นการวิเคราะห์สหสัมพันธ์คาโนนิคอลข้อตกลงเบื้องต้นการวิเคราะห์สหสัมพันธ์คาโนนิคอล • กลุ่มตัวอย่างต้องได้มาจากการสุ่ม • ข้อมูลเป็นเชิงปริมาณ หรือเป็นอันตรภาค(Interval Scale) • กลุ่มตัวอย่างต้องมีขนาดใหญ่เมื่อเปรียบเทียบกับจำนวนตัวแปรเช่นตัวแปร 7 ตัว กลุ่มตัวอย่างจะต้องมากกว่าอย่างน้อย 7 เท่า • ตัวแปรในแต่ละกลุ่มต้องมีการกระจายแบบ Multivariate Normal Distribution

  5. ตัวแปรกลุ่มที่ 2 Y1 ,Y2.… Yq ตัวแปรกลุ่มที่ 1 X1 , X2 ,X3… Xp การวิเคราะห์สหสัมพันธ์คาโนนิคอล : การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มตัวแปร 2 กลุ่ม 1. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของกลุ่มตัวแปร 2 เชตโดยไม่ระบุว่ากลุ่มใดเป็นตัวแปรอิสระหรือตัวแปรตาม 2. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของกลุ่มตัวแปร 2 เชตโดยระบุว่ากลุ่มตัวแปรอิสระและกลุ่มตัวแปรตาม

  6. ตัวอย่าง การวิจัยเกี่ยวกับบุคลิกภาพของนักเรียนที่มีต่อผลการเรียนของนักเรียนห้อง ม. 6/1 รร.นานา

  7. การทดสอบนัยสำคัญของสหสัมพันธ์คาโนนิคอลการทดสอบนัยสำคัญของสหสัมพันธ์คาโนนิคอล สมมติฐานH0 : RC1= RC2 = RC3 …RCm =0 H1 : มี RCi ≠ 0 อย่างน้อย 1 ค่า ; i = 1,2,3,…m 1. ทดสอบว่ามีความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงอย่างมีนัยสำคัญระหว่างตัวแปรสองชุดเหล่านั้น - ถ้าพบว่าไม่มีนัยสำคัญ แสดงว่ากลุ่มตัวแปรไม่มีความสัมพันธ์กันในเชิงเส้น(ยอมรับ H0) -ถ้าพบว่ามีนัยสำคัญ ก็จะทดสอบต่อในขั้นที่ 2 (ปฏิเสธ H0) 2. ทดสอบเพื่อตัดสินใจว่าสัมประสิทธิ์คาโนนิคอลค่าใดบ้างที่มีนัยสำคัญ นั่นคือ มีกลุ่มตัวแปรอิสระและกลุ่มตัวแปรตามกี่คู่ที่มีนัยสำคัญ

  8. การหาสหสัมพันธ์คาโนนิคอลการหาสหสัมพันธ์คาโนนิคอล Independent Variables Dependent Variables สมมุติว่า ผู้วิจัยต้องการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มตัวแปรอิสระ (X) มี p ตัว กับกลุ่มตัวแปรตาม (Y) มี q ตัว X1 Y1 Canonical Variables W V X2 Y2 Y3 X3 Xp Xq V1 =a1X1+ a2X2+…+ a1pXpV2 =a2X1 + a2X2 +…+ a2pXp …………..Vp =apX1 + apX2 +…+ appXp W1 =b1X1+ b2X2+…+ b1qXqW2 =b2X1 + b2X2 +…+ b2qXq ………….. Wq =bqX1 + bqX2 +…+ bqqXq

  9. เมื่อแปลงเป็นตัวแปรคาโนนิคอลแล้วหาความสัมพันธ์คล้ายสูตรของ เพียร์สัน (rxy) หรือ rvw= Rc = (Canonical correlation coefficient) ในการหาค่า Rcอาจหาในรูปของเมตริกซ์จะง่ายกว่าดังสูตร

  10. เมื่อกำหนด RC แทน เมตริกซ์ของสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ทั้งหมด R-1XX แทน inverse เมตริกซ์ของสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ R-1YYแทน inverse เมตริกซ์ของสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ RXY แทน เมตริกซ์ของสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระตามกับตัวแปร RYX แทน เมตริกซ์ของสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตัวแปรอิสระ

  11. ลักษณะการจัดรูปข้อมูลการวิเคราะห์ลักษณะการจัดรูปข้อมูลการวิเคราะห์ ตัวแปรอิสระ (X) มีจำนวน P ตัว ตัวแปรตาม (Y) มีจำนวน q ตัว

  12. จากเมตริกซ์ข้อมูลเบื้องต้น คำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่ายโดยจับคู่ระหว่างตัวแปรทุกตัวเป็นคู่ ๆ ไป แล้วนำค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ทั้งหมดมาจัดเป็นรูปเมตริกซ์ ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

  13. เขียนเป็นสมการได้ ดังสมการที่

  14. เมื่อได้ค่า RCให้นำมาคำนวณหา eigen values () ดังสูตร เมื่อ I คือ เมตริกซ์เอกลักษณ์ (indentity matrix) ค่า eigen values เป็นสัมประสิทธิ์กำลังสองของ RC เมื่อถอดรากที่สองของ  จะได้ค่าสัมประสิทธิ์คาโนนิคอล ดังสมการ

  15. การทดสอบนัยสำคัญของการวิเคราะห์สหสัมพันธ์คาโนนิคอลการทดสอบนัยสำคัญของการวิเคราะห์สหสัมพันธ์คาโนนิคอล

  16. การพิจารณาค่า ที่คำนวณได้ เมื่อคำนวณ เสร็จแล้ว ก็นำค่า V นั้นไปเทียบกับค่าวิกฤตของไคสแคว์ในตารางแจกแจงแบบไคสแคว์ - ถ้าค่า V คำนวณมีค่าน้อยกว่าค่าวิกฤต ก็แสดงว่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์คาโนนิคอลทุกค่าไม่มีนัยสำคัญ ระหว่างตัวแปร 2 ชุด - ถ้าค่า V คำนวณมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับค่าวิกฤต ก็แสดงว่า สัมประสิทธ์สหสัมพันธ์คาโนนิคอลมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสำคัญที่กำหนด จากนั้นก็ทดสอบว่ากลุ่มตัวแปรคู่ใดที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

  17. ตัวอย่างการวิเคราะห์การคำนวณตัวอย่างการวิเคราะห์การคำนวณ จากคะแนนการวัดของกลุ่มตัวอย่าง 5 คน ตัวแปรอิสระมี 2 ตัว ตัวแปรอิสระ มี 2 ตัว คือ X1กับ X2 ตัวแปรตาม มี 2 ตัว คือ Y1กับ Y2 ข้อมูลดังตารางต่อไปนี้

  18. วิธีทำคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่ายระหว่างตัวแปรแต่ละตัวเป็นคู่ ๆ แล้วจัดให้อยู่ในรูปเมตริกซ์

  19. จากสมการ ...........(1) แทนค่าได้

  20. inverse เมตริกซ์ R-1XX inverse เมตริกซ์ R-1YY

  21. คำนวณหา eigenvalues • หาค่า  จากการแก้ • สมการกำลังสอง • a2+b +C =0 • = หา determinant ของเมตริกซ์ จะได้ดังนี้ (.877 - )(.982 - ) – (0.010(0.066) = 0 .861 – 1.859  + 2 – 0.001 = 0 ดังนั้น 1 = .993 และ 2= .867

  22. Eigenvalues เป็นกำลังสองของสัมประสิทธิ์คาโนนิคอล ดังนั้นถ้าถอดรากที่สองของ eigenvalues จะได้ค่าสัมประสิทธิ์คาโนนิคอล ดังนี้

  23. ทดสอบนัยสำคัญระหว่างตัวแปรทั้ง 2 ชุด โดยมีรายละเอียด ดังนี้ หาค่า จากสมการที่ 5 M คือจำนวน eigenvalues ในตัวอย่างนี้ = 2 ดังนั้น =

  24. นำค่า แทนค่าในสมการที่ 4 ค่าวิกฤตที่ระดับ .01 มีค่าเท่ากับ 13.28 ดังนั้น V คำนวณมีค่าน้อยกว่า ค่า V วิกฤตของไคสแควร์ นั้นหมายความว่า ไม่มีนัยสำคัญ จึงสรุปได้ว่า ตัวแปรทั้งสองชุดไม่สัมพันธ์เชิงเส้น อย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับ .01

  25. เมื่อพบว่า V ไม่มีนัยสำคัญ แสดงว่าสัมประสิทธิ์คาโนนิคอลทุกค่าไม่มีนัยสำคัญ จึงสรุปได้อย่างครบถ้วน และตามหลักการก็จะหยุดการทดสอบนัยสำคัญลงแค่นี้ แต่เพื่อแสดงวิธีการทดสอบสหสัมพันธ์แต่ละค่า ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการนำไปใช้ ถ้าพบว่า V มีนัยสำคัญทางสถิติ หาค่า ดังนี้

  26. ค่าวิกฤตของไคสแควร์จากตาราง เมื่อ df = p x q -1=3 ที่ระดับ .01 มีค่าเท่ากับ 11.34 ดังนั้น V1 (7.44) คำนวณมีค่าน้อยกว่า ค่าวิกฤต นั้นหมายความว่า ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ สรุปได้ว่า ตัวแปรทั้งสองชุดไม่มีความสัมพันธ์เชิงเส้นอย่างมีนัยสำคัญระหว่างตัวแปรสองชุดในมิติที่หนึ่ง หาค่า ดังนี้

  27. ค่าวิกฤตของไคสแควร์จากตาราง เมื่อ df = p x q -3 =1 ที่ระดับ .01 มีค่าเท่ากับ 6.64 ดังนั้น V2 (3.03) มีค่าน้อยกว่าค่าวิกฤต นั้นหมายความว่า ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ สรุปได้ว่า ตัวแปรทั้งสองชุดไม่มีความสัมพันธ์เชิงเส้นอย่างมีนัยสำคัญระหว่างตัวแปรสองชุดในมิติที่สอง

  28. การวิเคราะห์ข้อมูลด้วย SPSS ขั้นตอนที่ 1 เปิดโปรแกรม SPSS แล้วลงข้อมูล

  29. ขั้นตอนที่ 2 ลงข้อมูลตามตัวอย่าง 

  30. ขั้นตอนที่ 3 เนื่องจาก SPSS ไม่มีคำสั่งวิเคราะห์สหสัมพันธ์คาโนนิคอลโดยตรง ต้องสั่งผ่าน คำสั่ง syntax ใน spss ให้ดำเนินการตามขั้นตอนดังนี้ เลือก Newsyntax  

  31. ขั้นตอนที่ 4เขียนคำสั่งใน syntax   Manova x1 to x3 with y1 to y3 /discrim all alpha(1) /print=sig(eigen dim).

  32. ผลการวิเคราะห์ด้วย คำสั่ง syntax ใน SPSS

  33. การหาสัมประสิทธิ์ภายใน (correlation Coefficients)) Analye -> Correlate ->Bivariste

  34. การหาสัมประสิทธิ์ภายใน (correlation) Options->กำหนดค่าใน Bivariate Correlation: Options->Continue

  35. การหาสัมประสิทธิ์ภายใน (correlation) ผลการวิเคราะห์ Correlation OK

  36. ตัวอย่างงานวิจัยที่ใช้สถิติคาโนนิคอลตัวอย่างงานวิจัยที่ใช้สถิติคาโนนิคอล ผลกระทบของอินเทอร์เน็ตต่อสุขภาพกาย และสุขภาพจิตของเด็กและเยาวชนไทย : กรณีศึกษากรุงเทพมหานคร The Effect of Internet upon the Physical and Mental health of Thai Children and Youth : Case study in Bangkok. โดย ประพิมพ์พรรณ สุวรรณกูฏ อัจศรา ประเสริฐสิน ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ(วช.) และผลงานนี้เป็นความรับผิดชอบของผู้วิจัยแต่เพียงผู้เดียว ปีงบประมาณ 2550

  37. ความมุ่งหมายของการวิจัยความมุ่งหมายของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการรับข้อมูลข่าวสารทางอินเทอร์เน็ตของเด็กและเยาวชน โดยแยกตามวัตถุประสงค์การใช้อินเทอร์เน็ตในด้านต่าง ๆ 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการรับสื่ออินเทอร์เน็ตในด้านต่าง ๆ กับสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่เป็นผลมาจากการใช้อินเทอร์เน็ตของเด็กและเยาวชน 3. เพื่อศึกษาผลกระทบของอินเทอร์เน็ตทั้งทางบวกและทางลบ ที่มีต่อสภาพร่างกาย และสภาพจิตใจ ของเด็กและเยาวชน 4. เพื่อศึกษาแนวทางการรณรงค์ส่งเสริมให้ใช้อินเทอร์เน็ตในรูปแบบและระยะเวลาที่เหมาะสมกับตนเอง ช่วยให้ไม่เกิดผลเสียต่อสุขภาพกาย และสุขภาพจิต ของเด็กและเยาวชน

  38. ขอบเขตของการวิจัย 1. กลุ่มตัวอย่าง เด็กและเยาวชนในเขตกรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2550 ทั้งหมดจำนวน 1,584 คน แบ่งเป็นนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาของโรงเรียน จำนวน 851 คน และนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีในระดับอุดมศึกษา จำนวน 733 คน 2. ตัวแปรที่ศึกษา (ศึกษาเฉพาะข้อที่ใช้สหสัมพันธ์คาโนนิคอล) 2.1 ตัวแปรอิสระ คือ พฤติกรรมการรับสื่ออินเทอร์เน็ต 4 ด้าน 2.1.1สื่ออินเทอร์เน็ตด้านบันเทิง 2.1.2 สื่ออินเทอร์เน็ตด้านลบ 2.1.3 สื่ออินเทอร์เน็ตด้านเพื่อการศึกษา 2.1.4 สื่ออินเทอร์เน็ตด้านธุรกิจ 2.2 ตัวแปรตามคือ ผลต่อสุขภาพกาย และสุขภาพจิต 2.2.1 สุขภาพกายทางลบ 2.2.2 สุขภาพจิตทางบวก 2.2.3 สุขภาพจิตทางบวก

  39. ผลการวิจัย สหสัมพันธ์คาโนนิคอลระหว่างชุดตัวแปรอิสระคือพฤติกรรมการรับสื่ออินเทอร์เน็ต 4 ด้าน กับชุดตัวแปรตามคือผลต่อสุขภาพกาย และสุขภาพจิต มีค่าเท่ากับ .500, .325 และ .108 ตามลำดับ ซึ่งมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ทุกชุด โดยพบว่า 1. สื่ออินเทอร์เน็ตด้านบันเทิงสามารถอธิบายผลดีต่อสุขภาพจิตได้สูงที่สุดถึงร้อยละ 25.0 2. สื่ออินเทอร์เน็ตด้านลบสามารถอธิบายการเสียต่อสุขภาพจิตได้ ถึงร้อยละ 10.6 3.สื่ออินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษา หรือด้านธุรกิจ สามารถอธิบายการส่งผลเสียต่อสุขภาพกายได้เพียงร้อยละ 1.2

  40. ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย SPSS for Windows • ถ้ามีตัวแปร 2 กลุ่ม โดยตัวแปร X มี x1 x2 และ x3 เป็นการวัดน้ำตาลในเลือดของคนไข้นที่กินน้ำตาลไปลแล้ว 1 ชั่วโมงและตัวแปร Y มี y1 y2 และ y3 เป็นการวัดน้ำตาลในเลือดดของคนไข้นที่งดอาหาร จากตัวอย่าง 52 คน • ข้อมูล sugar.sav

  41. ขอบคุณครับ

More Related