1 / 57

ผลการประเมินคุณภาพภายนอก สถาบันอุดมศึกษา : ผลประเมินรอบแรก

ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร. สมหวัง พิธิยานุวัฒน์. ผลการประเมินคุณภาพภายนอก สถาบันอุดมศึกษา : ผลประเมินรอบแรก. Universities far from universal Schools can’t teach Dee Hock : Visa Credit Card : Chaodic Organization.

holmes-hull
Download Presentation

ผลการประเมินคุณภาพภายนอก สถาบันอุดมศึกษา : ผลประเมินรอบแรก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร. สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ ผลการประเมินคุณภาพภายนอก สถาบันอุดมศึกษา : ผลประเมินรอบแรก

  2. Universities far from universal Schools can’t teach Dee Hock : Visa Credit Card : Chaodic Organization

  3. คุณลักษณะของนโยบายการศึกษาของประเทศที่พัฒนาแล้วคุณลักษณะของนโยบายการศึกษาของประเทศที่พัฒนาแล้ว ๑. มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาระดับสูงอันเป็นเป้าหมายของการจัดการศึกษาทุกระดับ การกำหนดมาตรฐานการศึกษาเป็นหน้าที่ของรัฐ มีการสร้างโอกาสทางการศึกษาให้ประชาชนโดย ไม่ลดมาตรฐาน

  4. คุณลักษณะของนโยบายการศึกษาของประเทศที่พัฒนาแล้วคุณลักษณะของนโยบายการศึกษาของประเทศที่พัฒนาแล้ว ๒. ประเทศที่พัฒนาแล้วถือว่าวิชาชีพครูเป็นวิชาชีพชั้นสูงที่มีคุณค่าสูงยิ่ง สังคมยกย่องคนเก่งคนดี ใฝ่ฝันที่จะก้าวสู่วิชาชีพครู

  5. คุณลักษณะของนโยบายการศึกษาของประเทศที่พัฒนาแล้วคุณลักษณะของนโยบายการศึกษาของประเทศที่พัฒนาแล้ว ๓. ผู้เรียนส่วนใหญ่ได้รับการศึกษาและการอบรมโดยได้รับประสบการณ์ภาคปฏิบัติ มีความเชื่อมโยงทฤษฎีและการปฏิบัติ

  6. คุณลักษณะของนโยบายการศึกษาของประเทศที่พัฒนาแล้วคุณลักษณะของนโยบายการศึกษาของประเทศที่พัฒนาแล้ว ๔. มีสถาบันอุดมศึกษาหลากหลายรูปแบบ นอกเหนือจากมหาวิทยาลัย เช่น วิทยาลัยอาชีวศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยี วิทยาลัยชุมชน ทุกรูปแบบของสถาบันอุดมศึกษา มีคุณภาพได้มาตรฐานและเป็นที่ยอมรับของสังคม

  7. คุณลักษณะของนโยบายการศึกษาของประเทศที่พัฒนาแล้วคุณลักษณะของนโยบายการศึกษาของประเทศที่พัฒนาแล้ว ๕. มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดระหว่างสถาบันอุดมศึกษากับผู้ใช้บัณฑิต

  8. คุณลักษณะของนโยบายการศึกษาของประเทศที่พัฒนาแล้วคุณลักษณะของนโยบายการศึกษาของประเทศที่พัฒนาแล้ว ๖. บริษัทต่างๆ ลงทุนในการพัฒนาบุคลากรอย่างเป็นระบบ โดยผ่านสมาคมวิชาการ/วิชาชีพ โดยถือว่าคุณภาพของทรัพยากรบุคคลเป็นกุญแจทองของความสำเร็จ

  9. คุณลักษณะของนโยบายการศึกษาของประเทศที่พัฒนาแล้วคุณลักษณะของนโยบายการศึกษาของประเทศที่พัฒนาแล้ว ๗. มีนโยบายสนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนบุคลากรที่มีความชำนาญพิเศษ ให้แลกเปลี่ยนระหว่างบริษัทหรือระหว่างรัฐกับเอกชน จากMichael E. Porter : The Competitive Advantage of the Nations (Community)

  10. สภาพปัญหาคุณภาพอุดมศึกษาไทยสภาพปัญหาคุณภาพอุดมศึกษาไทย โดยรวมจากการระดมความคิด ๑. คุณภาพของนักเรียนที่จบ ม.๖ต่ำกว่ามาตรฐานโดยเฉพาะอย่างยิ่งนักเรียนที่จบสายวิทย์-คณิต ทั้งนี้การให้อำนาจ การตัดสินจบชั้นประโยคไปที่สถานศึกษา ซึ่งมีคุณภาพและมาตรฐานแตกต่างกันมาก เป็นการศึกษาที่ไม่มีมาตรฐานขั้นต่ำของประเทศ

  11. สภาพปัญหาคุณภาพอุดมศึกษาไทยสภาพปัญหาคุณภาพอุดมศึกษาไทย โดยรวมจากการระดมความคิด ๒. ทิศทางการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาในภาพรวมไม่ชัดเจน เกิดความซ้ำซ้อนในเรื่องการให้บริการ ๓. การจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษา ส่วนใหญ่เป็นการจัดตั้งด้วยเหตุผลทางการเมือง ไม่ได้คำนึงถึงคุณภาพและความพร้อมของการเป็นสถาบันอุดมศึกษา

  12. สภาพปัญหาคุณภาพอุดมศึกษาไทยสภาพปัญหาคุณภาพอุดมศึกษาไทย โดยรวมจากการระดมความคิด ๔. ไม่มีการจัดระบบความหลากหลายของสถาบันอุดมศึกษา ทำให้ทิศทางการส่งเสริมพัฒนาและกำกับมาตรฐานไม่ชัดเจนและไม่ต่อเนื่อง ๕.สถาบันอุดมศึกษาปรับตัวไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะในเรื่องการสร้างและการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการเรียนการสอนและการวิจัย

  13. สภาพปัญหาคุณภาพอุดมศึกษาไทยสภาพปัญหาคุณภาพอุดมศึกษาไทย โดยรวมจากการระดมความคิด ๖. สถาบันอุดมศึกษาเปิดหลักสูตรตามความพอใจ โดยไม่คำนึงถึงคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ๗. สถาบันอุดมศึกษาขาดการวางแผนพัฒนาสถาบันในระยะยาว ๘. คณะกรรมการบริหารสถาบัน/สภาสถาบันอุดมศึกษาทั้งของรัฐและเอกชนหลายแห่งไม่มีการบริหารจัดการที่ดี

  14. สถาบันอุดมศึกษาที่ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกสถาบันอุดมศึกษาที่ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก

  15. มาตรฐาน 1 ด้านคุณภาพบัณฑิต

  16. มาตรฐาน 2 ด้านการเรียนรู้

  17. มาตรฐาน 3 ด้านการสนับสนุนการเรียนรู้

  18. มาตรฐาน 4 ด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์

  19. มาตรฐาน 5 ด้านการบริการวิชาการ

  20. มาตรฐาน 6 ด้านกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

  21. มาตรฐาน 7 ด้านการบริหารจัดการ

  22. มาตรฐาน 8 ด้านการประกันคุณภาพภายใน

  23. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วนสำหรับสถาบันอุดมศึกษา • ๑. เร่งรัดให้มีการกำหนดมาตรฐานอุดมศึกษาของชาติ เพื่อเป็นเป้าหมายในการจัดการศึกษาอุดมศึกษาของประเทศไทย และของสถาบันอุดมศึกษาแต่ละแห่งให้มีลักษณะร่วมและอัตตลักษณ์ อันเป็นจุดเริ่มต้นของระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีคุณภาพ และสอดคล้องกับเอกลักษณ์ของสถาบันอุดมศึกษา

  24. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วนสำหรับสถาบันอุดมศึกษา • ๒. เร่งรัดการปรับปรุงกฎกระทรวงว่าด้วยการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อให้การประกันคุณภาพมีเอกภาพ ทั้งการประกันคุณภาพภายในและภายนอก รวมทั้งประกอบด้วยระบบการประกันคุณภาพที่ครบถ้วน ทั้งระบบการพัฒนาคุณภาพ ระบบการติดตามคุณภาพ และระบบการประเมินคุณภาพ อีกทั้งมีการดำเนินการประกันคุณภาพ ด้วยการวิจัยสถาบัน การประเมิน และการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานของสถาบันอุดมศึกษาอย่างต่อเนื่อง

  25. ระบบประกันคุณภาพที่แนะนำระบบประกันคุณภาพที่แนะนำ ระบบการพัฒนา คุณภาพ • ระบบประเมินคุณภาพ • การประเมินภายใน • การประเมินภายนอก ระบบการติดตาม คุณภาพ

  26. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วนสำหรับสถาบันอุดมศึกษา • ๓. เร่งรัดการสร้างระบบและกลไก เกี่ยวกับเอกภาพระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหารและการประกันคุณภาพการศึกษาของระบบอุดมศึกษาของไทย

  27. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล ความมีอิสระ คล่องตัว การบริหารจัดการ โดยแผนและ มุ่งผลลัพธ์ การบริหารมหาวิทยาลัย การมีภูมิคุ้มกันที่ดี การมีส่วนร่วม การบริหาร จัดการ ความพึงพอใจ การบริหารจัดการ ให้สมดุล วิสัยทัศน์ และมาตรฐาน การบริหาร สอดคล้องกับ จุดมุ่งหมาย ของ พ.ร.บ. และมาตรฐาน การศึกษา การบริหาร คุณภาพ และประกัน คุณภาพ การเงินและ งบประมาณ นวัตกรรม และการเรียนรู้ ความโปร่งใส พร้อมรับ การตรวจสอบ ระบบข้อมูล และสารสนเทศ คุณธรรมจริยธรรม ความรอบรู้ การบริหารจัดการสถาบันอุดมศึกษาที่ประกันคุณภาพ

  28. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วนสำหรับสถาบันอุดมศึกษา • ๔. เร่งรัดให้มีการประกันคุณภาพและมาตรฐานของสถาบันอุดมศึกษาของไทยที่หลากปรัชญา และหลายรูปแบบการจัดการศึกษา เพื่อให้มั่นใจว่าเป็นการให้โอกาสทางการศึกษาแก่ผู้เรียน ต้องได้มาตรฐานมีคุณภาพและประกันคุณภาพการศึกษาที่จัดให้ ไม่ว่าจะจัดในรูปแบบใดก็ตาม

  29. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วนสำหรับสถาบันอุดมศึกษา • ๕. กำหนดให้เป็นวาระแห่งชาติในการผลิต การพัฒนา รักษาระดับคุณภาพอาจารย์อุดมศึกษาให้ได้มาตรฐาน ทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ อีกทั้งส่งเสริม สนับสนุน ให้อาจารย์อุดมศึกษามีวิถีชีวิตและคุณภาพชีวิตในการทำงานที่ได้มาตรฐาน เพื่อปฏิบัติภารกิจ “วิจัยในเรื่องที่สอนและสอนบริการ วิชาการ และทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ในเรื่องที่วิจัย”

  30. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วนสำหรับสถาบันอุดมศึกษา • ๖. แสวงหาระบบและกลไก ในการผลิตบัณฑิตที่ตรงกับความต้องการของประเทศที่มีดุลยภาพของ กระบวนทัศน์ Demand side approach และ Supply side approach

  31. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วนสำหรับสถาบันอุดมศึกษา • ๗. ให้สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ ทำหน้าที่ประเมินประสิทธิภาพการสอนและการวิจัยการติดตามผลบัณฑิต และความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่เป็นมาตรฐานสามารถนำผลมาจัดเปรียบเทียบกันได้ และไม่เกิดความซ้ำซ้อนในการดำเนินงาน

  32. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วนสำหรับสถาบันอุดมศึกษา • ๘. ให้มีการนำปัจจัยด้านคุณภาพ เป้าหมายและรูปแบบหรือกลุ่มของสถาบันอุดมศึกษา เป็นปัจจัยหลักในการพิจารณาจัดสรรงบประมาณสนับสนุนสถาบันอุดมศึกษา

  33. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วนสำหรับสถาบันอุดมศึกษา • ส่งเสริมและสนับสนุนให้นิสิต นักศึกษา โดยเฉพาะองค์การนิสิต นักศึกษาให้มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการประกันคุณภาพการศึกษาให้เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ • ๑๐. รีบเร่งประกาศนโยบายคุณภาพอุดมศึกษา ปฏิรังสรรค์ ทิศทางและระบบกลุ่มสถาบันอุดมศึกษารวมทั้ง วางแผนอุดมศึกษาระยะยาว

  34. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วนในการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาของแต่ละสังกัด

  35. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วนสำหรับมหาวิทยาลัยของรัฐ • ๑) เร่งการจัดทำนโยบาย แผนงานการจัดการด้านวิจัย พัฒนาระบบการจัดงาน วิจัยในเชิงรุก รวมถึงการมีนโยบายส่งเสริมสนับสนุนให้อาจารย์ทำวิจัยและมีการตีพิมพ์เผยแพร่งานวิจัยในวารสารระดับชาติ/นานาชาติ • ๒) พัฒนาระบบข้อมูลของมหาวิทยาลัยให้มีประสิทธิภาพทั้งข้อมูลด้านการศึกษาและข้อมูลทั่วไป รวมทั้งพัฒนาบุคลากรที่มีความสามารถในด้านนี้ด้วย • ๓) พัฒนาระบบริหารจัดการการดำเนินงานประกันคุณภาพ กระตุ้นให้หน่วยงานย่อยในมหาวิทยาลัยมีความเข้าใจเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในและสนับสนุนให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วม

  36. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วนสำหรับมหาวิทยาลัยในกำกับ • ๑) ควรส่งเสริมสนับสนุนคุณวุฒิอาจารย์และประสบการณ์ ด้านวิชาการและการวิจัยให้มากยิ่งขึ้น • ๒) มีความอิสระและคล่องตัวในการดำเนินงานสร้างระบบแรงจูงใจให้กับบุคลากรในการทำงาน • ๓) ปรับปรุงด้านประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความเข้าใจกับประชากรของมหาวิทยาลัยและชุมชนภายนอกให้มากขึ้น

  37. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วนสำหรับมหาวิทยาลัยเปิด • ๑) ควรส่งเสริมการวิจัย โดยให้คณาจารย์ผู้มี ประสบการณ์เป็นหัวหน้าทีมงานวิจัย มีการดำเนินการใน เชิงรุกในการหาทุนวิจัยทั้งภายในและภายนอกสถาบัน และมีการสนับสนุนให้มีการเผยแพร่งานวิจัย • ๒) ควรปรับปรุงห้องสมุดและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (MIS) ให้ได้มาตรฐาน มีระบบฐานข้อมูลครบถ้วนเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการเรียนการสอน • ๓) มหาวิทยาลัยควรดำเนินการปรับปรุงเอกสารชุดวิชาให้ทันสมัยตามเกณฑ์มาตรฐานของมหาวิทยาลัย ปรับปรุงสื่อการสอนให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีที่พัฒนาก้าวหน้าขึ้นตามลำดับ • ๔) ควรเพิ่มจำนวนอาจารย์และคุณวุฒิอาจารย์ในสาขาที่มีสัดส่วนอาจารย์ต่อนักศึกษาให้เหมาะสม

  38. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วนสำหรับมหาวิทยาลัยเอกชน • ๑) ควรเร่งรัดจัดหาอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาโท/เอกให้มีสัดส่วนที่มากตามเกณฑ์ทบวง จัดสรรทุนให้อาจารย์ได้ศึกษาต่อหรือเพิ่มวุฒิเพื่อความแข็งแกร่งทางวิชาการ • ๒) สนับสนุนส่งเสริมระบบการทำวิจัยและผลงานทางวิชาการของอาจารย์และมีการตีพิมพ์เผยแพร่ • ๓) พัฒนาระบบสารสนเทศในกระบวนการเรียนการสอนและการบริหารจัดการ • ๔) ใช้หลักการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม • ๕) ประชาสัมพันธ์การดำเนินงานของมหาวิทยาลัยให้บุคคลภายนอกได้รับทราบ

  39. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วนสำหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏ ๑. ผลิตบัณฑิตให้สอดคล้องกับความต้องการของ สังคมและท้องถิ่น โดยเฉพาะการให้ความสำคัญต่อ การผลิตและพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทาง การศึกษา เพื่อการปฏิรูปการศึกษาเพื่อประชาชน ตามนโยบายของรัฐบาล ยุทธศาสตร์ที่ ๒และ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ ฉบับปรับปรุง ๒๕๔๕

  40. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วนสำหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏ ๒. จำกัดปริมาณ เพิ่มคุณภาพบัณฑิต ๓. พัฒนาคุณวุฒิอาจารย์ให้เป็นไปตามเกณฑ์ของสกอ. อาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าไม่ต่ำกว่า ร้อยละ30ทั้งโดยรวมและแต่ละกลุ่มสาขา ๔. พัฒนางานวิจัยและงานสร้างสรรค์ของอาจารย์

  41. ๕. ปรับปรุงระบบบริหารและจัดการของมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการและ เพื่อการประกันคุณภาพ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วนสำหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏ ๖. ปรับปรุงระบบการประกันคุณภาพโดยเฉพาะการกำหนด มาตรฐานอุดมศึกษาของมหาวิทยาลัย ระบบการพัฒนา คุณภาพ ระบบการติดตามคุณภาพและระบบการประเมิน คุณภาพรวมทั้งการติดตามและประเมินผล

  42. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วนสำหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏ ๗. ปรับปรุงหลักสูตรและการบริหารหลักสูตร รวมทั้งระบบ ประกันคุณภาพหลักสูตรให้สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐาน หลักสูตรระดับอุดมศึกษาพ.ศ.2548 ๘. สร้างความเข้มแข็งให้กับสภามหาวิทยาลัยและในอนาคต องค์ประกอบของสภามหาวิทยาลัยควรประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้ใช้บัณฑิตเป็นส่วนใหญ่

  43. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วนสำหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏ ๙. ค้นหาและสร้างศูนย์ความเป็นเลิศเพื่อแสดงเอกลักษณ์ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ เช่น ศูนย์ความเป็นเลิศด้าน การเรียนรู้ระดับอุดมศึกษาอันเป็นเอกลักษณ์ของ มหาวิทยาลัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น

  44. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วนสำหรับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล • ๑) ผลิตบัณฑิตให้สอดคล้องกับความต้องการของสังคมและท้องถิ่น โดยพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน และนำภูมิปัญญาในท้องถิ่นมาเสริม พร้อมพัฒนาทักษะที่สำคัญสำหรับบัณฑิต ได้แก่ ภาษาอังกฤษ การใช้สารสนเทศ การบริหารจัดการ และการปรับตัวเข้าสู่การทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ • ๒) จำกัดจำนวนนักศึกษาโดยเฉพาะระดับปริญญาตรี เนื่องจากอัตรากำลังอาจารย์มีจำกัด เพื่อให้มีเวลาและทรัพยากรมากขึ้นในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และควรคงไว้ซึ่งการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรระดับต่ำกว่าปริญญาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ปวส.)ไว้อีกระยะหนึ่ง เนื่องจากภาคอุตสาหกรรมยังมีความต้องการกำลังคนในระดับกลางจำนวนมาก ซึ่งมหาวิทยาลัยสามารถผลิตกำลังคนระดับ ปวส.ได้ดีมีคุณภาพ

  45. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วนสำหรับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล • ๓) พัฒนาคุณวุฒิของอาจารย์ให้เป็นไปตามเกณฑ์ สกอ. โดยเฉพาะอาจารย์ให้มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอก • ๔) พัฒนางานวิจัยและงานสร้างสรรค์ของอาจารย์ โดยการสนับสนุนคณาจารย์ให้ทำวิจัยมากขึ้นโดยใช้มาตรการต่าง ๆ อาทิ กำหนดการวิจัยให้เป็นภาระงานอย่างชัดเจน จัดโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการวิจัย กำหนดทิศทางและแผนงานวิจัย เพิ่มศักยภาพและความรู้ในการทำงานวิจัย จัดหาทุนวิจัยทั้งจากแหล่งภายในและภายนอก เพิ่มบุคลากรสายสนับสนุนเพื่อลดงานธุรการของอาจารย์ สนับสนุนและเผยแพร่ผลงานการวิจัย สร้างแรงจูงใจ และสร้างความร่วมมือในลักษณะเครือข่ายเพื่อการสนับสนุนด้านงบประมาณ

  46. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วนสำหรับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ๕) ปรับปรุงระบบบริหารและการจัดการของมหาวิทยาลัย โดยการส่งเสริมให้มีระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและจัดการ มีการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ มีหน่วยงานรับผิดชอบเกี่ยวกับฐานข้อมูล และมีการพัฒนาระบบบัญชีให้เป็นมาตรฐาน

  47. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วนสำหรับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ๖) พัฒนาระบบการติดตามและประเมินผลงานและโครงการต่างๆ รวมถึงการนำผลมาใช้เพื่อการปรับปรุงและพัฒนา เช่น ให้มีการนำผลการประเมินการสอนมาใช้ในการปรับปรุงการเรียนการสอน

  48. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วนสำหรับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ๗) สร้างความเข้มแข็งให้กับสภามหาวิทยาลัย โดยเน้นการสรรหากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่มีวิสัยทัศน์และสามารถให้คำแนะนำแก่สภามหาวิทยาลัยมาเป็นกรรมการสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยต้องให้ความสำคัญแก่ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมากขึ้น และมีระเบียบหลักเกณฑ์และกลไกในการสรรหากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่ชัดเจน โดยกรรมการสรรหาผู้ทรงคุณวุฒิจะต้องเป็นคณะกรรมการจากภายนอกที่ไม่มีผลประโยชน์ได้เสีย (Conflict of Interest) กับมหาวิทยาลัย

  49. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วนสำหรับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ๘) ปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘

  50. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วนสำหรับ วิทยาลัยพยาบาล ๑) พัฒนาอาจารย์ทั้งจำนวนและคุณวุฒิ ให้ได้ตามเกณฑ์ของสภาพยาบาลและอุดมศึกษา รวมถึงการพัฒนาความเชี่ยวชาญ เตรียมความพร้อมอาจารย์ให้มีศักยภาพในการสอบรับทุนศึกษาต่อ/เข้าสู่ตำแหน่งวิชาการทุกระดับและการฝึกอบรมหลังปริญญาในต่างประเทศ รวมถึงพัฒนาด้านการเรียนการสอนและการใช้ IT

More Related