410 likes | 605 Views
กระบวนการบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค. องค์กรขับเคลื่อน.
E N D
กระบวนการบริหารงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคกระบวนการบริหารงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
องค์กรขับเคลื่อน 1. คณะกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค2. คณะกรรมการ MCH BOARD ระดับจังหวัด ระดับอำเภอ3. คณะกรรมการอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ระดับจังหวัด ระดับอำเภอ4. คณะกรรมการป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อ เรื้อรัง (NCDBoard)
แผนที่กลยุทธ์การพัฒนาสาธารณสุขจังหวัดยโสธร ปี 2555-2559 วิสัยทัศน์: “เป็นองค์กรชั้นนำด้านการจัดการระบบสุขภาพ โดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน เพื่อสุขภาพที่ดีของประชาชน” ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบบริการสุขภาพ ให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริหารจัดการ ให้มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน และภาคีเครือข่ายในการพัฒนาระบบสุขภาพ G1 ประชาชนมีสุขภาพดี ประสิทธิผล G3 ประชาชนได้รับความคุ้มครองใน การบริโภคผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ G2 ประชาชนพึ่งตนเองด้านสุขภาพได้ G5ประชาชนพึงพอใจ G4 สถานบริการผ่านเกณฑ์มาตรฐาน คุณภาพการบริการ (HA, PCA) คุณภาพบริการ G7 การบริหารแผนงาน และ การติดตามประเมินผลมีประสิทธิภาพ G6ระบบบริหารจัดการ มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล G10ระบบบริการสุขภาพเชิงรุกมีประสิทธิภาพ (ส่งเสริม, ป้องกัน, รักษา, ฟื้นฟู) G8 การบริหารงบประมาณ การเงิน มีประสิทธิภาพ G9ระบบการควบคุมภายใน และบริหารความเสี่ยงมีประสิทธิภาพ G11ภาคีเครือข่ายสุขภาพมีความเข้มแข็ง และมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบสุขภาพ ประสิทธิภาพ G12 มีบุคลากรเพียงพอ และมีสมรรถนะที่จำเป็น และความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงาน G13 สถานที่ทำงานน่าอยู่ และมีบรรยากาศ ที่ดี เหมาะสมในการปฏิบัติงาน G14 สถานบริการมีอุปกรณ์และเครื่องมือ ที่ทันสมัยอย่างเพียงพอและพร้อมใช้ พัฒนาองค์กร G15 เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ด้านสุขภาพ G16 การเตรียมความพร้อมมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และรองรับภาวะความเปลี่ยนแปลงของโลก G17 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและฐานข้อมูล สนับสนุนการบริหารและการปฏิบัติงาน
กระบวนการ -สรุปผลงานปี56–ชี้แจงกรอบแนวทาง –จัดทำแผน –กลั่นกรองแผน -รับรองแผนและถ่ายทอดแผนสู่การปฏิบัติ
ผลลัพธ์ แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2557Single Plan ทุก CUP
แผนปฏิบัติการและงบประมาณ ปี 2557(Single Plan จังหวัดยโสธร)
การบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค(PP) ปีบประมาณ 2557
แผนปฏิบัติการประจำปี และงบประมาณ ปี 2557(เฉพาะกลุ่มงานในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด)
การบริหารจัดการระบบข้อมูลการบริหารจัดการระบบข้อมูล 1. การพัฒนาศูนย์ข้อมูลข่าวสาร (Data Center)2. การบันทึกข้อมูลหนองหน่วยบริการ - โรงพยาบาลทุกแห่งใช้โปรแกรม HOSxP - รพ.สต. ทุกแห่ง ใช้โปรแกรม HOSxP_PCU3. ใช้ข้อมูลจาก Data Center ตอบ KPI4. จัดทำระบบ Refer Online5. ใช้โปรแกรมระบบคลังข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (DM HT)6. การบันทึกข้อมูลติดตามตัวชี้วัด
การนำแผนไปสู่การปฏิบัติการนำแผนไปสู่การปฏิบัติ 1. การประชุมชี้แจงกรอบและแนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการ 2. การสร้างการรับรู้และแนวปฏิบัติร่วมกัน3. การบูรณาการแผนงาน/โครงการ4. กำหนดบทบาทและผู้รับผิดชอบแผนงาน/โครงการและตัวชี้วัด5. ผู้บริหารทุกระดับ เป็นผู้นำในการขับเคลื่อนและสื่อสาร ให้แก่บุคลากร6. การขับเคลื่อนโดยผ่าน DHS7. การจัดระบบการติดตามประเมินผลความก้าวหน้า ของการดำเนินการในทุกระดับ
การกำกับติดตามและการสนับสนุนการกำกับติดตามและการสนับสนุน การนิเทศผสมผสานระดับอำเภอ
การนิเทศผสมผสาน : 3 ทีม (ZONE)1. ผชช.ว. : เลิงนกทา กุดชุม ไทยเจริญ 2. ผชช.ส. : เมือง ป่าติ้ว ทรายมูล 3. นวก.เชี่ยวชาญ : คำเขื่อนแก้ว มหาชนะชัย ค้อวัง • การนิเทศเฉพาะกิจ : กลุ่มงานต่างๆ • ปี 2557กำหนดการนิเทศผสมผสานระดับอำเภอ • ครั้งที่ 1เริ่ม 7กุมภาพันธ์2557 • ครั้งที่ 2มิถุนายน 2557
การประเมินผล • ตามตัวชี้วัดของ ประเทศ/เขต/จังหวัด • Ranking CUP Manangement • 13ประเด็น 32ตัวชี้วัด กำหนดเดือน กค.-สค 2557
ตัวชี้วัดที่ 107อัตราส่วนมารดาตาย (ไม่เกิน 15ต่อแสนการเกิดมีชีพ) อัตราส่วนมารดาตาย จังหวัดยโสธร ปี 2554-2557 (ต.ค.56- ม.ค.57) ที่มา : รายงาน ก 2 Plus ศูนย์อนามัยที่ 7 อุบลราชธานี
ตัวชี้วัดที่ 108 ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย (ไม่น้อยกว่า 85) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปีที่ได้รับการตรวจพัฒนาการ จังหวัดยโสธร ปีงบประมาณ 2557 ไตรมาสแรก(ต.ค.56 - ธ.ค.56) ที่มา : ระบบคลังข้อมูลสุขภาพกลาง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร ข้อมูล ณ วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2557
ร้อยละของเด็ก (0-5 ปี) ที่มีพัฒนาการสมวัย เกณฑ์ ไม่น้อยกว่า 85) ผลงาน ร้อยละ 99.47 ผ่าน
กราฟแสดงร้อยละของเด็กต่ำกว่า5 ปี จังหวัดยโสธร ปีงบประมาณ 2557 ได้รับวัคซีนทุกประเภทตามเกณฑ์ไม่น้อยกว่า 90(ยกเว้นวัคซีน MMR ไม่น้อยกว่า 95)
ตัวชี้วัดที่ 109 : ร้อยละของเด็กนักเรียนมีภาวะอ้วน ไม่เกินร้อยละ 15 สรุปผลการเฝ้าระวังภาวะการเจริญเติบโตของนักเรียน(น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง) จังหวัดยโสธร เทอม 2 ปีการศึกษา 2556 (ธันวาคม 2556) จำแนกรายอำเภอ ผ่าน
ตัวชี้วัด 110เด็กไทยมีความฉลาดทางสติปัญญาเฉลี่ย (ไม่น้อยกว่า 100) ทั่วประเทศ 98.59 ผลการสำรวจ IQ รายจังหวัด ปี 2554 ที่มา : กรมสุขภาพจิต
แนวทางการดำเนินงาน 1.คัดเลือกโรงเรียนประถมศึกษา อำเภอละ 2 แห่ง เข้าร่วมโครงการฯ เพื่อพัฒนา ระบบการเฝ้าระวังปัญหา IQ EQ ในนักเรียน ( ป.1 ) รวม 18 แห่ง 2.จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาเครือข่ายการดูและช่วยเหลือเด็กพัฒนาการ ล่าช้า MR,Autistic, ADHD,LD และการจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการด้าน IQ EQ 3บูรณาการกับงานอนามัยแม่และเด็ก รณรงค์ให้หญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ทุก รายกินวิตามิน ธาตุเหล็ก และเกลือไอโอดีน สนับสนุนการดำเนินงานหมู่บ้านไอโอดีน 4.โครงการอัจฉริยะแสนดี ( รพ.ยโสธร ) อบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์ เรื่องการ ดูแลตัวเองทั้งร่างกายและจิตใจและการเตรียมตัวการเลี้ยงลูกให้เป็นเด็กดี เก่ง สุข สำรวจ IQ พร้อมกันทั่วประเทศ ปี 2559
ตัวชี้วัดที่ 111อัตราการคลอดในมารดาอายุ 15– 19ปี (ไม่เกิน 50 ต่อประชากรหญิง อายุ 15– 19ปี พันคน) อัตราการคลอดของมารดาอายุ 15-19 ปี ต่อพันประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี จังหวัดยโสธร ปี 2554-2557 (ต.ค.56-มค.57) ที่มา : รายงาน ก.2 ,Data Center สสจ.ยโสธร
อัตราการคลอดในมารดาอายุ 15-19 ปี จังหวัดยโสธร จำแนกรายอำเภอ ปี 2557 (ตุลาคม 2556-มกราคม 2557) ที่มา : Data Center สสจ.ยโสธร
ตัวชี้วัดที่ 112 ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประชาชน อายุ 15 – 19 ปี ( ไม่เกินร้อยละ 13 ) มีแนวทางการดำเนินงาน ดังนี้ 1. ประชุมคณะกรรมการคณะอนุกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ 2 ครั้ง/ปี 2. การประชุมเชิงปฏิบัติการ ประกาศเป็นวาระจังหวัดยโสธร จังหวัดลด ละ เลิก เครื่องดื่มแอลกอฮอล์และ 3.พัฒนาศักยภาพพนักงานเจ้าหน้าที่ในการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ 4.พัฒนาศักยภาพเครือข่ายเยาวชนในการเฝ้าระวังควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ
(ต่อ) 5.พัฒนาศักยภาพเครือข่ายเยาวชนในการเฝ้าระวังควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ (100 คน) 6.การดำเนินงานตามกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์โดยบูรณการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เฝ้าระวังตรวจเตือน ทุกอำเภอในจังหวัดยโสธร ในช่วง ปีใหม่ สงกรานต์ งานบุญบั้งไฟ วันเข้าพรรษา ทั้งระดับจังหวัด และระดับอำเภอ 7.การจัดกิจกรรมวันงดดื่มสุราแห่งชาติ ทุกอำเภอ 8.ถอดบทเรียนในการดำเนินงานเฝ้าระวังบังคับใช้กฎหมายในพื้นที่ 9.การจัดทำสารจากใจท่านผู้ว่าราชการจังหวัดยโสธร ถึง ผู้ประกอบการร้านค้าเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ ขอความร่วมมือปฏิบัติตามกฎหมาย
ตัวชี้วัดที่ 113อัตราตายจากอุบัติตุทางถนน (ไม่เกิน 20ต่อประชากรแสนคน)
ตัวชี้วัดที่ 114อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ (ไม่เกิน 23ต่อประชากรแสนคน)
ตัวชี้วัดที่ 115อัตราตายจากโรคหลอดเลือดสมอง ในผู้สูงอายุ ไม่เกิน 170 ต่อประชากร แสนคนภายใน 5ปี จำนวนผู้สูงอายุ 78,936 คนเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมอง 19 คน อัตราต่อแสน 24.07
โรคหลอดเลือดสมอง (stroke) การพัฒนางาน 1. ระบบ Fast track • CT –brain Fast track ส่ง CT –brainไม่ต้องผ่านStaff • Ischemic stroke กำหนด Door to needle ที่ 1 ชั่วโมง 2. Stroke corner(เริ่ม มิย.56) ใช้ zoneพื้นที่ ดังนี้ @ ER ใช้ Zone CPR @ หอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม ใช้ 1 เตียง @ หอผู้ป่วยสามัญ ใช้เตียงผู้ป่วยที่ติดกับNurse station
ตัวชี้วัดที่ 116 คนพิการทางการเคลื่อนไหวขาขาด ได้รับบริการครบถ้วน (ร้อยละ 100 ภายใน 3 ปี ) เข้าถึงบริการ ขาเทียม รวมบริการอื่นคิดเป็น ร้อยละ 94.27
ตัวชี้วัดที่ 117กระบวนการและผลลัพธ์ของการ ดำเนินงานปัญหาสุขภาพในพื้นที่ 1. ระดับปฐมภูมิ การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัย ใช้กระบวนการ หมอครอบครัว 2. ระดับอำเภอ ใช้รูปแบบของเครือข่ายสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS) 3. ระดับจังหวัด ได้มีการแต่งตั้งคณะทำงานเพื่อสนับสนุน วิชาการ นิเทศ ติดตามความก้าวหน้า ในการดำเนินงาน สนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาประเด็นสุขภาพ เครือข่ายสุขภาพอำเภอ เครือข่ายละ 100,000บาท
การดำเนินงานหนึ่งอำเภอหนึ่งประเด็นสุขภาพ (One District One Project – ODOP)
1.1 กระบวนการบริหารงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
กระบวนการบริหารงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค(ต่อ)กระบวนการบริหารงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค(ต่อ)
1.2 ผลลัพธ์ภาวะสุขภาพตามกลุ่มวัย 1.2.1 การพัฒนาสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็ก(0-5ปี/สตรี)
1.2 ผลลัพธ์ภาวะสุขภาพตามกลุ่มวัย(ต่อ) 1.2.2 การพัฒนาสุขภาพกลุ่มเด็กวัยเรียน (5-14ปี) NA
1.2 ผลลัพธ์ภาวะสุขภาพตามกลุ่มวัย(ต่อ) 1.2.3 การพัฒนาสุขภาพ กลุ่มเด็กวัยรุ่น/ นักศึกษา(15-21ปี) NA
1.2 ผลลัพธ์ภาวะสุขภาพตามกลุ่มวัย(ต่อ) 1.2.4 การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน (15-59 ปี)
1.2 ผลลัพธ์ภาวะสุขภาพตามกลุ่มวัย(ต่อ) 1.2.5 การพัฒนาสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการ (60ปีขึ้นไป)
1.3 กระบวนการและผลลัพธ์ของการดำเนินงาน ปัญหาสุขภาพในพื้นที่