350 likes | 588 Views
น้ำเน่าที่รินไหล ดีกว่าน้ำใสที่หยุดนิ่ง. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ. ศูนย์อนามัยที่ 6. โครงสร้างศูนย์อนามัยที่ 6. โครงสร้างโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ. อัตรากำลังของกลุ่มการพยาบาล. พยาบาลวิชาชีพ 82 คน พยาบาลเทคนิค 19 คน เจ้าหน้าที่ผดุงครรภ์สาธารณสุข 3 คน
E N D
น้ำเน่าที่รินไหล ดีกว่าน้ำใสที่หยุดนิ่ง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 6
โครงสร้างโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพโครงสร้างโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
อัตรากำลังของกลุ่มการพยาบาลอัตรากำลังของกลุ่มการพยาบาล • พยาบาลวิชาชีพ 82 คน • พยาบาลเทคนิค 19คน • เจ้าหน้าที่ผดุงครรภ์สาธารณสุข 3 คน • ลูกจ้างประจำ 40 คน • ลูกจ้างชั่วคราว 69 คน • พนักงานราชการ 3 คน
จำนวนเตียงของโรงพยาบาล 60 เตียง • งานห้องคลอด 4 เตียง • สูติ-นรีเวชกรรมสามัญ 28 เตียง • สูติ-นรีเวชกรรมพิเศษ 24 เตียง • งานผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด 4 เตียง
บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของกลุ่มการพยาบาลบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของกลุ่มการพยาบาล • กำหนดแผนงานของกลุ่มการพยาบาล • จัดระบบการบริหารบุคลากรทางการพยาบาล • จัดเจ้าหน้าที่ให้การพยาบาลตลอด 24 ชั่วโมง • กำหนดระเบียบเกี่ยวกับการให้บริการพยาบาล • กำหนดแนวทางในการพัฒนาบุคลากรทางการพยาบาล ส่งเสริมการศึกษาและวิจัย • กำหนดมาตรฐานบริการพยาบาล
บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของกลุ่มการพยาบาล (ต่อ) 7. จัดระบบบริหาร อุปกรณ์ เครื่องมือ ครุภัณฑ์ต่างๆ 8. จัดระบบบริการด้านอาคารสถานที่เพื่อให้เอื้ออำนวยต่อการให้บริการและถูกหลักวิชาการ 9. จัดระบบประสานงานทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน 10. สนับสนุนโครงการต่าง ๆ ตามแผนงานของ กรมอนามัย 11. อื่น ๆ ที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย
บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบหัวหน้าพยาบาลบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบหัวหน้าพยาบาล 1. รับนโยบายจากผู้บริหารศูนย์อนามัยที่ 6 2. กำหนดนโยบายและแนวทางการบริหารงานการพยาบาลของ กลุ่มการพยาบาล 3. สรรหาและคัดเลือกบุคลากรทางการพยาบาล 4. พิจารณาจัดสรรอัตรากำลังให้กับหน่วยงานต่าง ๆ ให้มีเพียงพอ และสามารถให้บริการได้ครอบคลุม 24 ชั่วโมง 5. มอบหมายงานให้กับบุคลากรทางการพยาบาลทุกระดับ 6. ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการ พยาบาลทุกระดับ
บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบหัวหน้าพยาบาล (ต่อ) 7. ควบคุม กำกับ การใช้วัสดุ ครุภัณฑ์ด้านการรักษาพยาบาล 8. ควบคุมคุณภาพการพยาบาลในภาพรวม 9. ตรวจสอบดูแลและพัฒนางานการพยาบาลให้มีคุณภาพ ตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ 10. พัฒนาบุคลากรทางการพยาบาล 11. ควบคุม ดูแล พิทักษ์สิทธิผู้ใช้บริการ 12. ประสานงานและร่วมมือกับวิชาชีพอื่น ๆ ทั้งในและ นอกหน่วยงาน 13. ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย
เป้าหมายด้านบริหาร • เพื่อให้มีระบบบริการที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานให้ได้คุณภาพ • เพื่อพัฒนาบุคลากรทางการพยาบาลให้มีความรู้ ความสามารถ มีความชำนาญเชิงวิชาการ /วิชาชีพ พัฒนาคุณภาพการพยาบาลให้ได้มาตรฐาน และส่งเสริมสนับสนุนบุคลากรทุกระดับให้มีความรู้ ทักษะ ในการให้บริการอย่างมีคุณภาพ วัตถุประสงค์
เป้าหมายด้านบริหาร (ต่อ) หน้าที่ของการจัดบริการพยาบาล • เพื่อให้มีระบบบริการที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานให้ได้คุณภาพ • นำกระบวนการพยาบาลมาใช้ในการปฏิบัติงานการพยาบาล • พัฒนาระบบการบันทึกทางการพยาบาลให้มีประสิทธิภาพ • สนับสนุนในการทำวิจัยทางการพยาบาลและนำผลการวิจัย มาประยุกต์ใช้ • ควบคุมคุณภาพการพยาบาลให้ได้มาตรฐานตามที่กำหนด
เป้าหมายการจัดบริการ ให้บริการพยาบาลแบบองค์รวม และผสมผสานด้านส่งเสริมสุขภาพ ให้เป็นไปตามมาตรฐานการพยาบาลในการใช้กระบวนการพยาบาลเป็นแนวทางปฏิบัติ และบันทึกการพยาบาลอย่างมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์ เพื่อให้บริการพยาบาลเป็นตามมาตรฐาน โดยใช้กระบวนการพยาบาลเป็นแนวทางปฏิบัติ และมีระบบบันทึกทางการพยาบาลที่มีประสิทธิภาพ
เป้าหมายการจัดบริการ (ต่อ) เข็มมุ่งในการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล • 1. พัฒนาระบบบริการให้มีคุณภาพ • - พยาบาลนำกระบวนการพยาบาลเป็นเครื่องมือในการ ปฏิบัติการพยาบาล และพัฒนาระบบบันทึกทางการ พยาบาลให้มีประสิทธิภาพ • - บริหารจัดการอัตรากำลังให้มีประสิทธิภาพ • - พัฒนาบุคลากรทุกระดับให้มีความรู้ ทักษะและมีจำนวน เพียงพอ • 2. การจัดการความเสี่ยงที่สำคัญที่เกิดกับผู้รับบริการ
ตัวชี้วัดคุณภาพการพยาบาล • พัฒนาระบบบริการให้มีคุณภาพ • บริหารจัดการอัตรากำลังทางการพยาบาลให้เพียงพอต่อการให้บริการที่มีประสิทธิภาพ • บุคลากรทางการพยาบาลได้รับการพัฒนาศักยภาพให้เหมาะสมกับลักษณะงานที่ปฏิบัติ • การจัดการความเสี่ยงที่สำคัญที่เกิดขึ้นกับผู้บริการ
องค์กรพยาบาล จัดองค์กรแบบ Matrix Organization คือ • โครงสร้างการบริหารในแนวดิ่ง • โครงสร้างการบริหารงานแบบแนวราบ • คณะทำงานพัฒนาคุณภาพบริการ • คณะทำงานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในระบบ • คณะทำงานด้านจริยธรรม • ศูนย์ประสานราชการใสสะอาด • พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพบุคลากร
กลยุทธ์ในการดูแลการปฏิบัติงานของบุคลากรให้อยู่บนพื้นฐานของจริยธรรม จรรยาบรรณ กฎหมาย และความรู้ โดย • อบรมให้ความรู้กับบุคลากรทุกระดับ • - บริหาร • - พยาบาลวิชาชีพ • - พยาบาลเทคนิค • - เจ้าหน้าที่บริการ คนงาน คนครัว
กลยุทธ์ในการดูแลการปฏิบัติงานของบุคลากรให้อยู่บนพื้นฐานของจริยธรรม จรรยาบรรณ กฎหมาย และความรู้ โดย (ต่อ) 2. กำหนดแนวทางปฏิบัติงานและการดูแลผู้ป่วย - ด้านบริหารจัดการ - ด้านกิจกรรมทางคลินิก - ด้านจริยธรรม/กฏหมาย 3. ส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรทางการพยาบาลนำ แนวทางมาปฏิบัติ4. มีระบบการนิเทศติดตาม ควบคุม ตรวจสอบ
แนวทางในการคัดเลือกผู้นำทีมการพยาบาลแนวทางในการคัดเลือกผู้นำทีมการพยาบาล • ระดับปฏิบัติงาน • ระดับหัวหน้างาน • คณะกรรมการบริหาร ร.พ. • คณะกรรมการบริหารของศูนย์อนามัยที่ 6
กลไกการสื่อสาร และปัญหาภายในองค์กรพยาบาล • ประชุมคณะกรรมการบริหารของศูนย์ • ประชุมคณะกรรมการบริหารของโรงพยาบาล • ประชุมคณะกรรมการบริหารของกลุ่มการพยาบาล • ประชุมบุคลากรในแต่ละงาน โดย หัวหน้างาน • ระบบจดหมายเวียน ทาง Intranet • ตรวจเยี่ยมหน่วยงาน
ช่องทางจากผู้ปฏิบัติสู่ผู้บริหารช่องทางจากผู้ปฏิบัติสู่ผู้บริหาร • การประเมินความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร 1 ครั้ง/ปี • จัดเวทีผู้บริหารพบผู้ปฏิบัติ 1 ครั้ง/ปี • การประชุมของหน่วยงานย่อย
กลไกการสื่อสารและการแก้ปัญหาของพยาบาลกับวิชาชีพอื่นกลไกการสื่อสารและการแก้ปัญหาของพยาบาลกับวิชาชีพอื่น - เป็นคณะทำงาน และ เลขานุการ ของทีม PCT- บทบาทของพยาบาลในคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด- บทบาทของพยาบาลในคณะกรรมการเวชระเบียน- บทบาทของพยาบาลในคณะกรรมการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล- บทบาทของพยาบาลในคณะกรรมการเกี่ยวกับคุณภาพ- บทบาทของพยาบาลในคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
การจัดการทรัพยากรบุคคลการจัดการทรัพยากรบุคคล ได้จัดทรัพยากรบุคคลเพื่อให้บริการพยาบาลได้ตามพันธกิจที่กำหนดอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ
การพัฒนาทรัพยากรบุคคลการพัฒนาทรัพยากรบุคคล • กำหนดแผนพัฒนาบุคลากรร่วมกับงานพัฒนา บุคลากรของศูนย์ฯ • สำรวจความต้องการของพยาบาลในการศึกษา ต่อระดับปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก การอบรมเฉพาะทาง การอบรมทางการบริหาร
นโยบายและวิธิปฏิบัติ • มีนโยบายและมีวิธีปฏิบัติเป็นลายลักษณ์อักษร • มีแนวทางในการจัดทำคู่มือทางการพยาบาล
ระบบงาน/การบริหารการพยาบาลระบบงาน/การบริหารการพยาบาล • บริหารการพยาบาลที่มีประสิทธิภาพตามตามมาตรฐานวิชาชีพ และตอบสนองความต้องการ • ส่งเสริมให้แต่ละงานจัดทำเกณฑ์ชี้วัดของตนเอง • กลุ่มการพยาบาลมีระบบการนิเทศ ติดตามและ • ประเมินผลการปฏิบัติงาน • - พยาบาลจบใหม่ โอนย้าย ช่วยราชการ • - ประเมินผลการปฏิบัติงานทุก 6 เดือน
ระบบงาน/การบริหารการพยาบาล (ต่อ) • เครื่องมือในการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงาน • - เครื่องมือตามที่ ก.พ. กำหนด • - คุณภาพบริการพยาบาลและเกณฑ์ชี้วัดของแต่ละงานและของกลุ่มการพยาบาล
ประเด็นสำคัญในการตรวจสอบคุณภาพประเด็นสำคัญในการตรวจสอบคุณภาพ • ทิศทางการจัดองค์กรและการบริหารงานใน หน่วยงาน • เพิ่มการพยาบาลและการพัฒนาศักยภาพของ • บุคลากร • การบริการพยาบาล • วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ เครื่องใช้ในการให้บริการ • และการดูแลผู้ใช้บริการ และสิ่งแวดล้อม • การประกันคุณภาพ และการปรับปรุงคุณภาพ อย่างต่อเนื่อง
กิจกรรมพัฒนา เพื่อปรับปรุงการบริหารการพยาบาล • การบริหารงานแบบ Matrix • 1.1 ทีมคุณภาพ Matrix เช่น IC, ICN และ ICWN • 1.2 การประเมินผลความพึงพอใจของบุคลากรทางการพยาบาลต่องานที่ปฏิบัติ
กิจกรรมพัฒนา เพื่อปรับปรุงการบริหารการพยาบาล (ต่อ) 2. กิจกรรมพัฒนาคุณภาพที่มุ่งเน้น 2.1 พัฒนาระบบบริการให้มีคุณภาพ - กระบวนการพยาบาล - ระบบบันทึกทางการพยาบาล - บริหารจัดการอัตรากำลังให้มีประสิทธิภาพ- พัฒนาบุคลากรทุกระดับให้มีความรู้ ทักษะ และมีจำนวนเพียงพอ 2.2 การจัดการความเสี่ยงที่สำคัญที่เกิดกับผู้รับบริการ- ความคลาดเคลื่อนของยา
กิจกรรมพัฒนา เพื่อปรับปรุงการบริหารการพยาบาล (ต่อ) 2. กิจกรรมพัฒนาคุณภาพที่มุ่งเน้น 2.1 พัฒนาระบบบริการให้มีคุณภาพ - กระบวนการพยาบาล - ระบบบันทึกทางการพยาบาล - บริหารจัดการอัตรากำลังให้มีประสิทธิภาพ- พัฒนาบุคลากรทุกระดับให้มีความรู้ ทักษะ และมีจำนวนเพียงพอ 2.2 การจัดการความเสี่ยงที่สำคัญที่เกิดกับผู้รับบริการ- ความคลาดเคลื่อนของยา
วิเคราะห์ตนเอง ความภูมิใจในการดูแลมาตรฐานและจริยธรรมของบุคลากรทางการพยาบาล • การนำกระบวนการมาใช้ในการปฏิบัติงาน • พัฒนาระบบบันทึกทางการพยาบาล • ผลักดันให้บุคลากรจัดทำผลงานทางวิชาการ • บุคลากรพยาบาลมีนวัตกรรม ในการให้บริการ
สิ่งที่ท้ายในเรื่องการดูแลมาตรฐานและจริยธรมของบุคลากรสิ่งที่ท้ายในเรื่องการดูแลมาตรฐานและจริยธรมของบุคลากร การพัฒนาศักยภาพบุคลากรโดยการกำหนดCompetency ของบุคลากรทุกระดับและมีเกณฑ์การประเมินผลอย่างเป็นรูปธรรม