1 / 34

การประเมินผลแผนและโครงการในบริบท ของประเทศไทย ผศ.ดร. จำลอง โพธิ์บุญ

การประเมินผลแผนและโครงการในบริบท ของประเทศไทย ผศ.ดร. จำลอง โพธิ์บุญ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ( NIDA). หัวข้อการนำเสนอ. ความหมายของการประเมินผล ทำไมจึงต้องมีการประเมินผลแผนและโครงการ ควรประเมินผลเมื่อใด เทคนิคการประเมินผล การวางแผนการประเมินผล การประเมินผลที่ดี.

hisano
Download Presentation

การประเมินผลแผนและโครงการในบริบท ของประเทศไทย ผศ.ดร. จำลอง โพธิ์บุญ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประเมินผลแผนและโครงการในบริบทการประเมินผลแผนและโครงการในบริบท ของประเทศไทย ผศ.ดร. จำลอง โพธิ์บุญ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA)

  2. หัวข้อการนำเสนอ ความหมายของการประเมินผล ทำไมจึงต้องมีการประเมินผลแผนและโครงการ ควรประเมินผลเมื่อใด เทคนิคการประเมินผล การวางแผนการประเมินผล การประเมินผลที่ดี

  3. ความหมายของการประเมินผลความหมายของการประเมินผล

  4. ความหมายของการประเมินผลความหมายของการประเมินผล การประเมินผลแผนและโครงการ เป็นกระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับแผนและโครงการ แล้วเปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของแผนและโครงการที่วางไว้ ซึ่งจะเป็นข้อมูลพื้นฐานสำคัญในการปรับปรุงแก้ไขแผนและโครงการ เพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับการดำเนินการต่อไป

  5. ทำไมจึงต้องมีการประเมินผลแผนและโครงการทำไมจึงต้องมีการประเมินผลแผนและโครงการ

  6. ทำไมจึงต้องมีการประเมินผลแผนและโครงการทำไมจึงต้องมีการประเมินผลแผนและโครงการ ความจำเป็น • เพื่อพิจารณาว่าแผน/โครงการสามารถตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ • เป้าหมายหรือความต้องการขององค์กรและ สังคมได้หรือไม่ • ทรัพยากรทุกอย่างมีจำกัดทั้งเงิน คน วัสดุอุปกรณ์ และ • ทรัพยากรธรรมชาติ • ผลกระทบจากแผน/โครงการที่อาจมีต่อ • สิ่งแวดล้อมและสังคม จึงต้องประเมินเพื่อหาทางป้องกัน • เพื่อพิจารณาคัดเลือกแผน/โครงการที่เหมาะสมที่สุดในกรณีที่มี • ข้อเสนอหลายแผน/โครงการเพื่อสนองวัตถุประสงค์เดียวกัน

  7. ประโยชน์ของการประเมินผลประโยชน์ของการประเมินผล 1. ช่วยทำให้การกำหนดวัตถุประสงค์และมาตรฐานของการดำเนินงานมีความชัดเจน และสามารถที่จะนำไปปฏิบัติอย่างได้ผล 2. ช่วยให้การใช้ทรัพยากรเป็นไปอย่างคุ้มค่าหรือเกิดประโยชน์เต็มที่ 3. ช่วยให้แผนงาน/โครงการบรรลุถึงวัตถุประสงค์และดำเนินงานได้ 4. ช่วยในการแก้ปัญหาอันเกิดจากผลกระทบของแผน/โครงการและทำให้แผน/โครงการมีข้อที่ทำให้เกิดความเสียหายลดน้อยลง

  8. ประโยชน์ของการประเมินผล (ต่อ) 5. การประเมินแผน/โครงการมีส่วนช่วยควบคุมคุณภาพของงาน ปัจจัยทุกชนิด ข้อมูลนำเข้า กระบวนการ และผลงาน 6. การประเมินแผน/โครงการมีส่วนในการสร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้ปฎิบัติงาน เพราะการประเมินเป็นการศึกษาวิเคราะห์เพื่อการปรับปรุงแก้ไขและเสนอแนะวิธีการใหม่ๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงาน 7. การประเมินช่วยในการตัดสินใจในการบริหารโครงการ

  9. ควรประเมินผลเมื่อใด

  10. การประเมินครอบคลุมการประเมิน 4 ระยะ ดังนี้ Start End On-going Completion Post Pre-plan/ Project

  11. การประเมินครอบคลุมการประเมิน 4 ระยะ ดังนี้ 1. การประเมินก่อนมีแผน/โครงการ : เพื่อดูว่าแผน/โครงการมีความเหมาะสมและเป็นไปได้หรือไม่ 2. การประเมินระหว่างดำเนินแผน/โครงการ : เพื่อติดตามความก้าวหน้าของแผน/โครงการ ตรวจสอบแผน/โครงการ 3. การประเมินเมื่อแผน/โครงการเสร็จสิ้น : เพื่อดูว่าการดำเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้หรือไม่ 4. การประเมินภายหลังแผน/โครงการ : เพื่อดูผลสำเร็จต่อเนื่องและผลกระทบที่เกิดจากแผน/โครงการ ทำให้ทราบถึงผลประโยชน์ ผลกระทบ ในระยะยาว อาจเรียกว่าการประเมินความต่อเนื่องยั่งยืนของแผน/โครงการ

  12. เทคนิคการประเมินผล

  13. CIPP-I model Input P Process P Impact I I Product + Positive - Negative Target group Community Society Environment Man Money Material Steps Regulations Method Activities Management Quantity Quality Economic C Context Social Political

  14. Balanced Scorecard ดัชนีวัดความสำเร็จแบบสมดุล หรือ Balanced Scorecardเป็นตัวชี้วัดผลสำเร็จของการปฏิบัติงานที่กำหนดขึ้นเพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ที่เกี่ยวข้องกับองค์การได้ครบทุกกลุ่มโดยเฉพาะกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญต่อความอยู่รอดและเติบโตขององค์การ ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่มหลัก ได้แก่ 1) ด้านพันธกิจ/การเงิน 2) ด้านกลุ่มเป้าหมาย 3) ด้านการบริหารจัดการ/กระบวนการภายใน 4) ด้านการเรียนรู้และพัฒนา

  15. กdki กdki พันธกิจ/การเงิน การบริหารจัดการ/กระบวนการภายใน กdki การเรียนรู้และการพัฒนา กลุ่มเป้าหมาย กdki เพื่อให้ผู้ถือหุ้นและลูกค้ามีความพึงพอใจ เราต้องเร่งปรับปรุงกระบวนการในการ ดำเนินการอย่างไรบ้าง เพื่อให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ที่ตั้งไว้ เราควรดำเนินการ หรือปฏิบัติอย่างไรในสายตาของลูกค้า เพื่อให้บรรลุผลทางการเงิน เราควรดำเนินกิจการอย่างไร ในสายตาผู้ถือหุ้น เพื่อให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ เราจะสามารถธำรงรักษาขีดความสามารถในการปรับปรุงและพัฒนาอย่างไร วัตถุ ประสงค์ วัตถุ ประสงค์ วัตถุ ประสงค์ วัตถุ ประสงค์ ดัชนีวัด ดัชนีวัด ดัชนีวัด ดัชนีวัด เป้า หมาย เป้า หมาย เป้า หมาย เป้า หมาย แผน งาน แผน งาน แผน งาน แผน งาน วิสัยทัศน์ และ กลยุทธ์ ระบบการวัดความสำเร็จแบบสมดุลตามทฤษฎีของNorton และKaplan

  16. Balanced Scorecard(ต่อ) • Balanced Scorecard= บันทึกวัดผลเชิงกลยุทธ์, ดัชนีวัดความสำเร็จแบบสมดุล • Balanced คือ สมดุลของกลยุทธ์ (พิจารณาจาก วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์) และสมดุลของการวัด คือ วัดทั้งด้านการเงินและไม่ใช่ด้านการเงิน

  17. Balanced Scorecard(ต่อ) Robert S. KaplanจากHarvard Business SchoolและDavid P. NortonจากNolan, Norton and Companyเป็นผู้นำเทคนิคBalanced Scorecard (BSC) มาใช้เป็นครั้งแรก ปี ค.ศ.1992 เพื่อใช้ในการวัดสัมฤทธิผลทางด้านการเงินขององค์กรภาคธุรกิจ เป็นการวิเคราะห์แนวทางใหม่ที่ใช้แผนกลยุทธ์ระยะยาวรวมกับแผนกิจกรรมระยะสั้น ในกรอบของระบบการบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic management system)

  18. เป็นลักษณะผสมผสานของตัวชี้วัดการปฏิบัติการ(Performance Indicators) 4 ด้าน 1. ด้านพันธกิจ/การเงิน ได้แก่ ความสามารถในการทำกำไร (กำไร), การเติบโต (ยอดขาย) และผลตอบแทนแก่ผู้ถือหุ้น (มูลค่าหุ้น, เงินปันผล) 2. ด้านกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ การตอบสนอง (ความรวดเร็วและความถูกต้อง), การให้บริการ (คุณภาพของการบริการ), ราคา (ความคุ้มค่าในการใช้บริการ) การจัดทำตัวชี้วัดในรูปแบบBalanced Scorecard

  19. 3. ด้านการบริหารการจัดการ/กระบวนการภายใน ได้แก่ เวลาในกระบวนการ (การใช้เวลาในแต่ละขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม), คุณภาพในกระบวนการ (คุณภาพของงานในแต่ละขั้นตอนการดำเนินการ) และผลิตภาพในกระบวนการ (ทักษะ แรงจูงใจ ผลผลิตต่อคน) 4. ด้านการเรียนรู้และการพัฒนา ได้แก่ การค้นคว้า ทดลอง การผลิต และบริการชนิดใหม่ การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การศึกษาหาวิธีปรับปรุงระบบงาน การรักษาทุนทางปัญญา (การใช้ทักษะการมีส่วนร่วมของบุคลากร การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างบุคลากร) การจัดทำตัวชี้วัดในรูปแบบBalanced Scorecard

  20. ตารางความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด ข้อมูลปัจจุบัน เป้าหมายอนาคต และกลยุทธ์ที่ใช้

  21. ระดับ 1 ความสำเร็จของทรัพยากร (Inputs) ระดับ 2 ความสำเร็จของผลผลิตของโครงการ (Outputs) ระดับ 3 ความสำเร็จของวัตถุประสงค์ของโครงการ (Project Purpose) ระดับ 4 ความสำเร็จของวัตถุประสงค์ของแผนงานหรือความสำเร็จ ระดับเหนือกว่าโครงการ (Overall Goal) KPI จาก Log-Frame นำหลักการจากการวางแผนโครงการแบบ Log-Frame หรือ Project Design Matrix (PDM) มาประยุกต์ใช้ในการกำหนดตัวชี้วัดในระดับต่างๆ ของโครงการ โดยพิจารณาความสำเร็จของโครงการเป็น 4 ระดับ

  22. การประเมินผลในระบบเปิดการประเมินผลในระบบเปิด การประเมินผลในระบบเปิด หลักการพื้นฐาน (Basic Principle) ผลลัพธ์สุดท้าย (Ultimate Outcomes) • ผลประโยชน์สาธารณะ • การตอบสนองความพึงพอใจ • คุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน • สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาค • และความเป็นธรรม • การปรับปรุงพัฒนาการบริหารภาครัฐ • และเสริมสร้างนวัตกรรม • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและวัฒนธรรม • สู่การบริหารจัดการที่ดี • การมีส่วนร่วมของประชาชน • ความชัดเจนและโปร่งใส • ระบบข้อมูลที่ถูกต้อง • การตรวจสอบสาธารณะ • ความถูกต้องและความเป็นกลาง • ปราศจากอคติและการเลือกปฏิบัติ

  23. เกณฑ์มาตรฐาน (Standard Criteria) ตัวชี้วัด (Indicators) ตัวอย่างกรอบตัวแปร (Attributes) I. สัมฤทธิ์ผลและการบรรลุวัตถุประสงค์ของนโยบาย • ผลผลิต • ผลลัพธ์ - ผลต่างระหว่างผลผลิต / ผลลัพธ์กับวัตถุประสงค์ที่ กำหนด II. ความเสมอภาคและความเป็นธรรมในสังคม • การเข้าถึง • การจัดสรรทรัพยากร • การกระจาย ผลประโยชน์ • ความเสมอภาค • ปริมาณและคุณภาพ ทรัพยากรที่ได้รับจัดสรรต่อ คน • ผลประโยชน์ที่แต่ละกลุ่ม เป้าหมายได้รับในแต่ละครั้ง • การไม่เลือกปฏิบัติและ/หรือ การเลือกปฏิบัติที่เป็นคุณ เกณฑ์มาตรฐานและตัวชี้วัดการประเมินผลหน่วยงานในระบบเปิด

  24. เกณฑ์มาตรฐาน (Standard Criteria) ตัวชี้วัด (Indicators) ตัวอย่างกรอบตัวแปร (Attributes) III. ความสามารถและคุณภาพในการให้บริการ • สมรรถนะของ หน่วยงาน • ความทั่วถึงและ เพียงพอ • ความถี่การให้บริการ • ประสิทธิภาพการ ให้บริการ • พื้นที่เป้าหมายและ ประชากร กลุ่มเป้าหมายที่ รับบริการ • จำนวนครั้งในการ ให้บริการ • ผลลัพธ์เทียบกับปัจจัย นำเข้า เกณฑ์มาตรฐานและตัวชี้วัดการประเมินผลหน่วยงานในระบบเปิด(ต่อ)

  25. เกณฑ์มาตรฐาน (Standard Criteria) ตัวชี้วัด (Indicators) ตัวอย่างกรอบตัวแปร (Attributes) IV. ความรับผิดชอบของหน่วยงาน • พันธกิจต่อสังคม • ความรับผิดชอบต่อ สาธารณะ • การให้หลักประกัน ความเสี่ยง • การยอมรับ ข้อผิดพลาด • การจัดลำดับความสำคัญ • ภารกิจหลักและภารกิจ รอง • การตัดสินใจที่สะท้อน ความรับผิดชอบ เกณฑ์มาตรฐานและตัวชี้วัดการประเมินผลหน่วยงานในระบบเปิด(ต่อ)

  26. เกณฑ์มาตรฐาน (Standard Criteria) ตัวชี้วัด (Indicators) ตัวอย่างกรอบตัวแปร (Attributes) V. การสนองตอบความต้องการของประชาชน • การกำหนดประเด็น ปัญหา • การรับฟังความคิดเห็น • ระดับการมีส่วนร่วม • การปรึกษาหารือ • การสำรวจความต้องการ VI. ความพึงพอใจของลูกค้าหรือประชากรกลุ่มเป้าหมาย • ระดับความพึงพอใจ • การยอมรับ/การ คัดค้าน • สัดส่วนของประชากร กลุ่มเป้าหมายที่พอใจหรือไม่ พอใจ • ความคาดหวัง • ผลสะท้อนกลับ เกณฑ์มาตรฐานและตัวชี้วัดการประเมินผลหน่วยงานในระบบเปิด(ต่อ)

  27. เกณฑ์มาตรฐาน (Standard Criteria) ตัวชี้วัด (Indicators) ตัวอย่างกรอบตัวแปร (Attributes) VII. ผลเสียหายต่อสังคม • ผลกระทบภายนอก (ทางบวกและลบ) • ต้นทุนทางสังคม • ความสูญเสียทาง เศรษฐกิจ • ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม • ค่าเสียโอกาส • ความขัดแย้งทางสังคม เกณฑ์มาตรฐานและตัวชี้วัดการประเมินผลหน่วยงานในระบบเปิด (ต่อ)

  28. การวางแผนการประเมิน

  29. องค์ประกอบของแผนติดตามและประเมินผลโครงการองค์ประกอบของแผนติดตามและประเมินผลโครงการ 1. วัตถุประสงค์ของการติดตามและประเมินผล 2. บุคคล/หน่วยงานรับผิดชอบ 3. กรอบแนวคิดในการประเมิน 4. ตัวชี้วัดที่ใช้ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและแหล่งข้อมูล 5. เกณฑ์การตัดสินใจ/เป้าหมาย 6. บุคคล/หน่วยงานที่รับผิดชอบในการเก็บรวบรวมข้อมูล 7. ช่วงระยะเวลาติดตามประเมินผล

  30. การกำหนดกรอบการประเมินและตัวชี้วัดการกำหนดกรอบการประเมินและตัวชี้วัด เกณฑ์การตัดสิน/ เป้าหมาย วิธีการเก็บ รวบรวมข้อมูล กำหนดเวลา/ ความถี่ ผู้รับผิดชอบ แหล่งข้อมูล ประเด็น ตัวชี้วัด

  31. วิธีการ/เครื่องมือในการติดตามประเมินผลวิธีการ/เครื่องมือในการติดตามประเมินผล ข้อมูลปฐมภูมิ 1) การใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) 2)การสัมภาษณ์ (Interview) 3) การสังเกต (Observation) 4) การเก็บตัวอย่างทางกายภาพ ชีวภาพ 5)อื่น ๆ ได้แก่ การทดสอบ การเข้าไปมีส่วนร่วม

  32. วิธีการ/เครื่องมือในการติดตามประเมินผลวิธีการ/เครื่องมือในการติดตามประเมินผล ข้อมูลทุติยภูมิ 1) รายงานผลโครงการ 2)รายงานการประชุม 3) สถิติ ข้อมูล ที่เกี่ยวข้อง 4) ผลการประเมินโดยหน่วยงานอื่นๆ ฯลฯ

  33. การประเมินผลที่ดี

  34. การประเมินผลที่ดี (ศิริชัย กาญจนวาสี, 2537) • คำถาม/วัตถุประสงค์ของการประเมิน • เป็นไปตามความต้องการ/ความจำเป็นที่แท้จริง • สนองความต้องการใช้ข้อมูล/สารสนเทศ • วิธีการประเมิน • สนองวัตถุประสงค์/เป้าหมายของการประเมิน • สอดคล้องกับสภาพการณ์/ลักษณะของแผนและโครงการ • ผลการประเมิน • มีประโยชน์/นำไปใช้ได้ • ไม่มีอคติ/ยุติธรรม • น่าเชื่อถือ

More Related