250 likes | 461 Views
บทที่ 6 : กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางการเกษตร . 6.1 ปัจจัยเกี่ยวกับประชากร . 6.2 การปฏิรูปที่ดิน . 6.3 การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี . Y. Tech C. Tech B. Tech A. x. o. การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีที่มีผลต่อฟังก์ชั่นการผลิต. e. Y 4. d. Y 3. b. Y 2. c. Y ’ 1. a. Y 1. X 0. X 1.
E N D
บทที่ 6: กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางการเกษตร • 6.1 ปัจจัยเกี่ยวกับประชากร • 6.2 การปฏิรูปที่ดิน • 6.3 การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
Y Tech C Tech B Tech A x o การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีที่มีผลต่อฟังก์ชั่นการผลิต e Y4 d Y3 b Y2 c Y’1 a Y1 X0 X1 X2 X3
สิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีสิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี • ความเหมาะสมของเทคโนโลยี • ควรเหมาะสมกับท้องถิ่นและสภาพของทรัพยากร • ต้องมีการทดสอบความเหมาะสมที่ดีพอ • ความเสมอภาคในการใช้เทคโนโลยี • ควรเหมาะสมต่อกลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่/รายย่อยด้วย • ไม่ก่อให้เกิดปัญหาช่องว่างระหว่างรายได้ • ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อคุณภาพชีวิต • คุณภาพชีวิตของทั้งเกษตรกรและผู้บริโภคต้องไม่แย่ลง • เทคโนโลยีที่ดีต้องคำนึงถึงผลผลิตที่ได้ในระยะยาว
การปฏิวัติเขียว (Green Revolution) การปฏิวัติเขียว คืออะไร ? • การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการผลิต เพื่อให้ได้ผลผลิตสูงขึ้น การปฏิวัติเขียวเกิดขึ้นอย่างไร • การเพิ่มขึ้นของประชากรอย่างรวดเร็ว ขณะที่ผลผลิตต่ำ • ความอดอยากและขาดโภชนาการแผ่กระจายอย่างรวดเร็ว • มีการค้นคว้าวิจัยหาพันธุ์พืชใหม่ๆ ที่ให้ผลผลิตสูงขึ้น
การปฏิวัติเขียว (Green Revolution)(ต่อ) • พันธุ์พืชที่ให้ผลผลิตสูงหลายเท่าตัว เรียกว่า Hybrid varietiesหรือ High-yielding varieties (HYV) • การค้นพบเกิดขึ้นในสถานีทดลองในระดับนานาชาติ • ศูนย์ปรับปรุงข้าวสาลีและข้าวโพดระหว่างประเทศ (International Center for Maize and Wheat Improvement: CIMMYT) ที่Mexico ค้นพบข้าวโพดและข้าวสาลีลูกผสมที่ให้ผลผลิตสูง
ผลของการใช้พันธุ์ข้าวสาลี HYVในเม็กซิโก
ผลของการใช้พันธุ์ข้าวสาลี HYVในประเทศแถบเอเชีย
การปฏิวัติเขียว (Green Revolution)(ต่อ) • สถานีวิจัยข้าวระหว่างประเทศ (International Rice Research Institute: IRRI) ที่Philippine • ปี 1965ได้พันธุ์ข้าวลูกผสมพันธุ์ใหม่ คือ พันธุ์ IR 8 • ผลผลิตข้าวโดยรวมเพิ่มสูงขึ้น
ผลของการใช้พันธุ์ข้าวIR 8 ในฟิลิปปินส์
การปฏิวัติเขียว (Green Revolution)(ต่อ) • สถานีวิจัยข้าวระหว่างประเทศ (International Rice Research Institute: IRRI) ที่Philippine • ปี 1965ได้พันธุ์ข้าวลูกผสมพันธุ์ใหม่ คือ พันธุ์ IR 8 • ผลผลิตข้าวโดยรวมเพิ่มสูงขึ้น • ในประเทศไทย ได้นำ IR 8ผสมพันธุ์กับข้าวพันธุ์เหลืองทองได้เป็นข้าวพันธุ์ กข.
ผลได้ทางด้านสังคมเศรษฐกิจของการปฏิวัติเขียวผลได้ทางด้านสังคมเศรษฐกิจของการปฏิวัติเขียว • รายได้ที่แท้จริงเฉลี่ยต่อหัวเพิ่มขึ้นเกือบเท่าตัวในเอเชียในช่วงปี 1970-95 • ความยากจนหรือจำนวนผู้ยากจนโดยรวมลดลงจาก1.5พันล้านคนในปี1975เป็น825ล้านคนในปี1995 • การเพิ่มขึ้นของรายได้นำไปสู่การเพิ่มขึ้นในความต้องการสินค้าและบริการ
ปัญหาที่เกิดจากการปฏิวัติเขียวปัญหาที่เกิดจากการปฏิวัติเขียว • ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางด้านรายได้ • ความต้องการปัจจัยการผลิตอื่นๆ ประกอบด้วย เช่น ปุ๋ย สารเคมี และน้ำ • เกษตรกรที่รวยหรือรายใหญ่ มีโอกาสในการเข้าถึงดีกว่า • พื้นที่ที่เหมาะสมมีจำนวนจำกัด • ผลประโยชน์ตกอยู่กับผู้เป็นเจ้าของที่ดินมากกว่า
ปัญหาที่เกิดจากการปฏิวัติเขียว(ต่อ)ปัญหาที่เกิดจากการปฏิวัติเขียว(ต่อ) • ปัญหาสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมและการสูญเสียความหลาก หลายทางชีวภาพ การใช้ปุ๋ยและสารเคมีที่มากเกินไปและไม่เหมาะสม ความหลากหลายของพันธุกรรมพืชลดลง เนื่องจากการหันมาใช้พันธุ์ข้าวพันธุ์ใหม่
การใช้ปุ๋ยและสารเคมี • การใช้ปุ๋ยและสารเคมีเข้ามามีบทบาทมากขึ้น ในช่วงการปฏิวัติเขียว • อัตราการใช้ปุ๋ยเพิ่มขึ้นในประเทศต่างๆ ~ 10-15%ต่อปี ประเทศไทย ปี 1960-75และ84-93 มีการใช้ปุ๋ยเพิ่มขึ้น17.2%ต่อปี
การเพิ่มผลผลิตข้าว จากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีต่างๆปี 1965-1980 (ร้อยละ)
เครื่องสูบน้ำ รถไถเล็ก การใช้เครื่องจักรกลทางการเกษตร • มีการวิจัยพบว่า สาเหตุที่ทำให้การใช้พันธุ์ HYVไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร เนื่องมาจาก • ขาดการควบคุมการให้น้ำ • ขาดกำลังคนในการทำงานที่เพียงพอ • ขาดการจ้างงานที่ดีพอ • ประเทศกำลังพัฒนามีการใช้เครื่องจักรกลทางการเกษตรที่น้อยกว่าประเทศที่พัฒนาแล้ว
การใช้เครื่องจักรกลทางการเกษตร(ต่อ)การใช้เครื่องจักรกลทางการเกษตร(ต่อ) • ประเด็นสำคัญอยู่ที่ ประเภทของเครื่องจักรและระดับการใช้เครื่องจักร • มีการศึกษา พบว่า เครื่องมือขนาดเล็กมีแรงม้าไม่สูง เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตได้ดีกว่า • การใช้เครื่องจักรในการลดความเสียหายของผลผลิตและช่วยในการจัดการให้ผลิตได้ทันเวลา
สรุป • การเปลี่ยนแปลงทางการเกษตรเกิดจากปัจจัยหลายอย่าง • กระบวนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เป็นสิ่งที่ได้รับการกระตุ้นจากหลายๆ ทางด้วยกัน • การใช้เทคโนโลยีต้องคำนึงถึงความเหมาะสมกับสภาพภายในประเทศ และผลได้ในระยะยาว
การใช้เครื่องจักรต่อผลผลิตในประเทศต่างๆการใช้เครื่องจักรต่อผลผลิตในประเทศต่างๆ ผลผลิต (ตันต่อเฮกแตร์) ไต้หวัน อียิปต์ 6 ญี่ปุ่น สหรัฐ ยุโรป 5 4 3 2 1 แรงม้าต่อเฮกแตร์ 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0
การตอบสนองต่อการใช้ปุ๋ยของพันธุ์ข้าวสาลีดั้งเดิมและใหม่การตอบสนองต่อการใช้ปุ๋ยของพันธุ์ข้าวสาลีดั้งเดิมและใหม่
การเพิ่มขึ้นของการใช้ปุ๋ยในประเทศกำลังพัฒนาการเพิ่มขึ้นของการใช้ปุ๋ยในประเทศกำลังพัฒนา
ปริมาณปุ๋ยที่ อ.ต.ก. จำหน่ายให้แก่เกษตรกร พ.ศ. 2531-2541