1 / 16

ความปลอดภัยในการใช้ก๊าซ

ความปลอดภัยในการใช้ก๊าซ. SAFETY MINE ON SAFETY GAS. ไพฑูรย์ งามมุข. กองอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร โทร. 2485741 -3 ต่อ 301. แหล่งที่มา.

hilde
Download Presentation

ความปลอดภัยในการใช้ก๊าซ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความปลอดภัยในการใช้ก๊าซความปลอดภัยในการใช้ก๊าซ SAFETY MINE ON SAFETY GAS

  2. ไพฑูรย์ งามมุข กองอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร โทร.2485741-3 ต่อ 301

  3. แหล่งที่มา ก๊าซหรือแก็สเป็นเชื้อเพลิงซึ่งเรารู้จักกันเป็นอย่างดีในการใช้ในการหุงต้มหรือเติมรถยนต์ เรียกชื่อทางภาษาราชการว่า “ก๊าซ” โดยมีชื่อทางเทคนิคเรียกว่า “ ก๊าซปิโตรเลียมเหลว” (Liquefied Petroleum Gas)หรือ ก๊าซปิโตรเลียมเหลวคืออะไร L. P. G.

  4. L.P.G. เกิดจาก ธรรมชาติ และการกลั่นน้ำมัน

  5. Propane C C C H H H H H H H H C3 H8 ส่วนประกอบของก๊าซปิโตรเลียมเหลว

  6. Butane H C C C C H H H H H H H H H C4 H10 ส่วนประกอบของก๊าซปิโตรเลียมเหลว

  7. คุณสมบัติของก๊าซ 1. ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ดังนั้นจึงต้องเติมสาร “เมอร์แคบเทน “ ลงไปในก๊าซที่ขาย เพื่อให้มีกลิ่นเป็นเครื่องเตือนให้ทราบ เมื่อเกิดการรั่วของก๊าซ

  8. คุณสมบัติของก๊าซ 2. ไม่เป็นพิษ แต่ถ้าหายใจหรือสูดดมมาก ๆ อาจวิงเวียนหรือเป็นอันตรายต่อร่างกายได้เนื่องจากร่างกายขาดอ๊อกซิเจน

  9. 3มีจุดเดือดต่ำ มีจุดเดือดและกลายเป็นไอที่อุณหภูมิ ศูนย์องศาเซลเซียล ในเมืองไทยที่มีอุณหภูมิประมาณ 20 กว่าองศาเซลเซียล ก๊าซจะกลายเป็นไอทันที ที่พ้นจากความดัน และจะดูดความร้อนจากบริเวณใกล้เคียง ทำให้บริเวณใกล้เคียงมีความเย็นจัด ดังนั้นถ้าส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายคนเราสัมผัสกับน้ำก๊าซ จะทำให้ร่างกายส่วนนั้นเย็นจัดถึงไหม้ได้ คุณสมบัติของก๊าซ

  10. 4. หนักกว่าอากาศ เมื่อมีสภาพเป็นไอ ไอก๊าซจะหนักประมาณ 2 เท่าของอากาศ ฉะนั้นเมื่อก๊าซรั่วจึงจะไหลไปรวมกันอยู่ ณ ที่ต่ำ จึงไม่ควรตั้งถังก๊าซไว้ในห้องใต้ดิน ใกล้หลุมบ่อหรือรางระบายน้ำ คุณสมบัติของก๊าซ

  11. คุณสมบัติของก๊าซ 5. เบากว่าน้ำ เมื่อมีสภาพเป็นน้ำก๊าซ จะมีน้ำหนักประมาณครึ่งหนึ่งของน้ำ จึงลอยอยู่เหนือน้ำ ถ้าก๊าซรั่วลงไปใน คูคลอง หรือท่อน้ำ

  12. คุณสมบัติของก๊าซ 6. มีอัตราการขยายตัวสูง การเติมก๊าซลงในภาชนะ จึงไม่ควรเติมเต็ม ควรเติมประมาณ 85 % ของภาชนะ เพื่อให้มีช่องว่างไว้สำหรับขยายตัวเมื่อได้รับความร้อน

  13. คุณสมบัติของก๊าซ 7. มีความดันสูง ภาชนะที่บรรจุ อุปกรณ์ที่ใช้จึงต้องออกแบบให้แข็งแรงสามารถทนความดันได้ไม่น้อยกว่า 250 ปอนด์/ตารางนิ้ว

  14. คุณสมบัติของก๊าซ 8. มีความเข้มข้นใสต่ำ จึงรั่วซึมได้ง่าย และไม่มีคุณสมบัติในการหล่อลื่น ดังนั้นอุปกรณ์ที่ใช้จึงต้องแน่นหนาและทนทานเป็นพิเศษ

  15. คุณสมบัติของก๊าซ 9. ส่วนผสมของก๊าซกับอากาศ ที่ทำให้ติดไฟ อัตราส่วนของก๊าซในอากาศที่ทำให้ติดไฟคือ 1.5 - 9 ส่วนใน 100 ส่วน ของส่วนผสมจะเห็นได้ว่าถ้ามีก๊าซน้อยกว่า หรือมากกว่าสัดส่วนดังกล่าวก๊าซจะไม่ติดไฟ ซึ่งจะเห็นได้ว่าก๊าซติดไฟไม่ได้ง่ายนัก

  16. คุณสมบัติของก๊าซ 10.อัตราการขยายตัวของก๊าซ จากของเหลวเป็นไอ น้ำก๊าซ 1 ลิตร เมื่อกลายเป็นไอ ขยายตัวได้ถึง 250ลิตร เมื่อน้ำก๊าซรั่วจึงมีอันตรายมากกว่าไอก๊าซรั่ว

More Related