1 / 53

กระบวนการแก้ปัญหาทั่วๆไป

กระบวนการแก้ปัญหาทั่วๆไป. ( The General Problem-Solving Process ). การทำงานเป็นระบบ. การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ.

Download Presentation

กระบวนการแก้ปัญหาทั่วๆไป

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กระบวนการแก้ปัญหาทั่วๆไปกระบวนการแก้ปัญหาทั่วๆไป (The General Problem-Solving Process)

  2. การทำงานเป็นระบบ

  3. การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ • ในการออกแบบวิธีการทำงานในกระบวนการผลิตสำหรับผลิตภัณฑ์ใหม่หรือการปรับปรุงวิธีการเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงนั้น นับว่าเป็นส่วนสำคัญของการศึกษาการทำงาน ทั้งการออกแบบวิธีการทำงานกับรูปแบบแนวคิดการแก้ปัญหาซึ่งทั่วๆ ไปแล้วแบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน ที่สามารถนำไปใช้ได้อย่างเป็นระบบและสมเหตุผลในการแก้ปัญหา

  4. ขั้นตอนการแก้ปัญหาทั่วๆไป แบ่งออกเป็น 5 ประการ คือ • การกำหนดปัญหา หรือค้นหาปัญหา • วิเคราะห์ปัญหา • หาวิธีการที่เป็นไปได้ในการแก้ปัญหา • ประเมินผลในวิธีการต่างๆ เพื่อเลือกวิธีที่ดีที่สุด • ให้คำแนะนำ เพื่อดำเนินการพร้อมทั้งติดตามผล

  5. 1. การกำหนดปัญหา • มองปัญหาที่เกิดขึ้นให้ชัดเจน • ปัญหาที่เป็นรูปธรรม/มีตัวชี้วัด • ไม่ปะปน/ไม่ใหญ่โต/ไม่ซับซ้อน • หา/แยกแยะข้อมูล/รายละเอียดปัญหา • ใช้ตารางความสัมพันธ์งาน-ปัญหา • ทบทวนจุดประสงค์การแก้ปัญหา

  6. ตัวอย่างตัวแบบของปัญหาตัวอย่างตัวแบบของปัญหา

  7. ตัวอย่างตัวแบบของปัญหาตัวอย่างตัวแบบของปัญหา

  8. การกำหนดปัญหา (ต่อ) • อันที่จริงแล้วทุกคนก็ทราบและยอมรับปัญหาที่เกิดขึ้นในขณะที่ทำการศึกษา เช่นว่า “ต้นทุนการผลิตสูงเกินไป” ผลผลิตตกต่ำ หรือ เกิดคอขวด (Bottleneck) ในระบบเบิกจ่ายวัสดุในคลัง ซึ่งไม่ได้เป็นการยากเลยที่จะทราบปัญหาทั่วไปเหล่านั้น • ความสำคัญ คือ อะไรคือปัญหาที่แท้จริง ปริมาณของปัญหาแต่ละอย่าง และอะไรคือ สาเหตุของปัญหา ควรแก้ปัญหาอะไรก่อนหลังแก้ปัญหาตัวใดที่สามารถทำให้ปัญหาอื่นๆ ลดลงได้ด้วย

  9. ตัวอย่างการกำหนดปัญหาตัวอย่างการกำหนดปัญหา

  10. ตารางความสัมพันธ์งาน - ปัญหา

  11. ข้อแนะนำในการกำหนดปัญหาข้อแนะนำในการกำหนดปัญหา • ระบุหัวข้อปัญหาและจุดประสงค์ • ระบุตำแหน่งปัญหาชัดเจน • แสดงปัญหาในรูปการปรับปรุง • แสดงปัญหาในรูปของผลลัพธ์ • แยกแยะมาตรการตอบโต้และหัวข้อปัญหา • เขียนหัวข้อปัญหาในรูปแนวทางที่ชัดเจน • ย้ำถึงลักษณะพิเศษของการแก้ไข

  12. ตัวอย่างการกำหนดปัญหาตัวอย่างการกำหนดปัญหา • ลดข้อบกพร่องงานเชื่อมในสายประกอบ A • ลดเวลารอคอยของลูกค้าที่แผนกจัดส่ง • ปรับปรุงการฝึกอบรม เพิ่มความรู้พนักงาน • ช่วยกันลดข้อบอพร่อง ลดข้อบกพร่อง • ลดเวลาการเปลี่ยนสายการผลิต แก้ไขโดยการให้พนักงานใช้ข้อเท็จจริง

  13. 2. การวิเคราะห์ปัญหา • การที่จะได้มาซึ่งผลของปัญหาที่เรากำหนดขึ้นนั้นต้องตรงตามที่ได้ให้คำจำกัดความไว้ ในการวิเคราะห์ปัญหา จำเป็นที่จะต้องทราบข้อมูลต่างๆ เพื่อที่ค้นหาสาเหตุของปัญหาที่แท้จริง • ผู้วิเคราะห์ปัญหาต้องรู้และเข้าใจในหน่วยงานหรือจุดที่เกิดปัญหาเป็นอย่างดีพร้อมทั้งหาข้อมูลเพิ่มเติม • ในการวิเคราะห์ปัญหาต่าง เราอาจอาศัยหลักการของการควบคุมคุณภาพมาใช้ได้โดยเฉพาะในเรื่องของแผนภูมิของเหตุและผล (Cause and Effect Diagram) หรือที่เรียกว่าแผนภูมิก้างปลา (Fish Born Diagram)

  14. การวิเคราะห์ปัญหา • แยกรายละเอียด ข้อจำกัด หรือเงื่อนไขต่างๆ • อธิบายวิธีการ/สถานการณ์ที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน • ใช้หลัก 5 W 1 H • แยก/จัดกลุ่มปัญหาหลักและรอง • วิเคราะห์เชิงปริมาณ • ใช้เครื่องมือ/แผนภาพ/แผนภูมิ/กราฟ

  15. 5W 1 H

  16. เครื่องมือวิเคราะห์ • ใบตรวจสอบ - ความผันแปร • แผนภาพความใกล้ชิด - จัดกลุ่มปัญหา • แผนภูมิพาเรโต - หาปัญหาหลัก/รอง/สาเหตุ • แผนผังก้างปลา - เหตุและผลที่เกิด • แผนภาพความสัมพันธ์ - ความซับซ้อนของปัญหา • แผนภูมิควบคุม - ควบคุมความผันแปร • กราฟ/ฮิสโตแกรม - ความผันแปร/การแจกแจง • แผนภาพการกระจาย - ความสัมพันธ์เหตุและผล

  17. จุดประสงค์การใช้เครื่องมือจุดประสงค์การใช้เครื่องมือ

  18. จุดประสงค์การใช้เครื่องมือจุดประสงค์การใช้เครื่องมือ

  19. จุดประสงค์การใช้เครื่องมือจุดประสงค์การใช้เครื่องมือ

  20. ใบตรวจสอบ

  21. แผนภูมิควบคุม

  22. ฮีสโตแกรม

  23. การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภาพพาเรโตการวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภาพพาเรโต • หลักการที่เป็นที่นิยมนำมาใช้วัดปริมาณของปัญหาก็คือ หลักการของพาเรโต (Pareto’s Low) หรือมีอีกข้อหนึ่งว่า “80-20 Rule” แม้ว่าเป้าหมายหลักการนี้ใช้ในการควบคุมคุณภาพแต่ก็สามารถนำไปประยุกต์ใช้แก้ปัญหาทั่วๆไปได้ด้วย โดยเฉพาะในส่วนที่จะปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต

  24. แผนภาพพาเรโต (Pareto Diagram) • เป็นเครื่องมือสำหรับที่จะตรวจสอบปัญหาต่างๆ ในการทำงานโดย การนำปรากฏการณ์ หรือสาเหตุเหล่านั้นมาแบ่งแยกประเภท เขียนเป็นกราฟแสดงขนาดของข้อมูล • เพื่อใช้เปรียบเทียบดูค่ากับความสำคัญข้อมูล หรือปริมาณของปัญหา หรือข้อบกพร่อง เพื่อเป็นแนวทางในการที่จะพิจารณาแก้ปัญหาว่าควรจะแก้ปัญหาใดก่อน หลัง

  25. Pareto Diagram (แผนภาพพาเรโต) • หมายถึง แผนภาพสำหรับการวิเคราะห์ความมีเสถียรภาพของข้อมูลที่มีการจำแนกประเภท • โดยผ่านหลักการพาเรโต (Pareto principle) ที่ว่า • สิ่งที่มีความสำคัญมาก (ประมาณ 80% ของตัววัดความสำคัญทั้งหมด) จะมีจำนวนเพียงเล็กน้อย (ประมาณ 20 % ของข้อมูลทั้งหมด) • แต่สิ่งที่มีความสำคัญเพียงเล็กน้อย (ประมาณ 20% ของตัววัดความสำคัญทั้งหมด) จะมีจำนวนมาก (ประมาณ 80 % ของข้อมูลทั้งหมด)

  26. ขั้นตอนในการจัดทำแผนภาพพาเรโตขั้นตอนในการจัดทำแผนภาพพาเรโต • กำหนดหัวข้อที่จะทำการสำรวจ แล้วรวบรวมข้อมูลเหล่านั้น • กำหนดช่วงระยะเวลาและวิธีการในการเก็บรวบรวมข้อมูล • นำ “แบบตรวจสอบ” (Check Sheet) มาใช้เพื่อการสำรวจจำนวนปัญหาและสามารถนำมาสำรวจสาระและสาเหตุปัญหาได้ด้วย • ทำการแบ่งแยกและรวบรวมข้อมูลตามสาระ และสาเหตุ โดยพยายามให้การแบ่งแยกนั้นง่ายแก่การมีมาตรการ

  27. ขั้นตอนในการจัดทำแผนภาพพาเรโต (ต่อ) • วิธีการแบ่งแยกตามสาเหตุ วัตถุดิบ เครื่องจักร ผู้ปฏิบัติงาน วิธีการทำงาน เป็นต้น • วิธีการแบ่งแยกตามสาระ หัวข้อของปัญหา สถานที่การผลิต เวลา เป็นต้น • ทำการจัดแจงข้อมูลให้ความเหมาะสมแล้วคำนวณค่าสะสม • ให้เรียบเรียงหัวข้อตามลำดับ จำนวนข้อมูลที่มีปริมาณมากไปน้อย • ทำการคำนวณค่าสะสม

  28. ขั้นตอนในการจัดทำแผนภาพพาเรโต (ต่อ) • คำนวณเปอร์เซ็นต์สะสมจากสูตร เปอร์เซ็นต์ = ค่าสะสม x 100% จำนวนทั้งหมด • เขียนแกนตั้งและแกนนอน ลงบนกระดาษกราฟ • แกนที่นอนให้เขียนเติมชื่อหัวข้อ • แกนตั้งให้เขียนลักษณะสมบัติที่เรากำลังสำรวจ • จัดทำกราฟแท่งและเติมเส้นกราฟสะสม เขียนกราฟสะสม โดยให้จุดสุดท้ายของค่าสะสมมีค่าเท่ากับ100%

  29. การอ่านค่าแผนภูมิพาเรโตการอ่านค่าแผนภูมิพาเรโต • ทำการอ่านค่าจากสเกลค่าร้อยละสะสมที่ค่าประมาณ 80%ก่อน • แล้วพิจารณาว่าข้อมูลดังกล่าวมาจากรายการจำนวนเล็กน้อยหรือไม่ (ประมาณ 20%) • ถ้าหากไม่ได้ก็ทดลองค่าอื่นๆ บ้าง อาทิ 75% 70% หรือแม้แต่ 65%

  30. การตีความหมาย Pareto Diagram • สรุปความหมาย แล้วปฏิบัติการตามการตัดสินใจ • ถ้าตัวแบบของข้อมูลเป็นไปตามหลักการพาเรโตแล้ว • แสดงว่าข้อมูลนั้นอยู่ในสภาวะเสถียรภาพและ • สามารถใช้คาดการณ์ได้ • จากตัวอย่างเป็นไปตามหลักการของพาเรโต 70 : 35 • ข้อมูลอยู่ภายใต้เสถียรภาพ

  31. การตีความหมาย Pareto Diagram • ถ้าหากตัวแบบของข้อมูลมิได้เป็นไปตามหลักการพาเรโตแล้ว • ข้อมูลที่เก็บมาอาจจะอยู่ในสภาวะการปรับตัว (Transient State) เข้าสู่สภาวะเสถียรภาพ จึงควรมีการเก็บข้อมูลเพิ่มเติมอีกหรือ • ข้อมูลนั้นมาจากกระบวนการที่ไร้เสถียรภาพ มีความจำเป็นต้องแก้ไขด้วยการทำให้กระบวนการมีมาตรฐาน

  32. แผนภูมิก้างปลา (Fish Born Diagram) • เป็นแผนภาพที่แสดงความสัมพันธ์อย่างมีระบบระหว่างผลที่แน่นอนประการหนึ่งกับสาเหตุต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง • แผนภาพก้างปลา จะมุ่งสู่รายการสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหา (ตามหัวปลา) หัวปลา คือ ผลของปัญหาที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากสาเหตุ ต่างๆ ที่ติดอยู่ที่กระดูกสันหลังของปลา ก้างใหญ่ คือ สาเหตุที่สำคัญต่างๆ ที่ทำให้เกิดปัญหา

  33. แผนภูมิก้างปลา (Fish Born Diagram) (ต่อ) ก้างกลาง คือ สาเหตุที่ทำให้เกิดผลที่ก้างใหญ่ ก้างเล็ก คือ สาเหตุที่ทำให้เกิดผลที่ก้างกลางและ ก้างฝอย คือ สาเหตุที่ทำให้เกิดผลที่ก้างเล็ก • เพื่อให้ง่ายต่อการวิเคราะห์ปัญหา ควรแบ่งสาเหตุสำคัญๆ ออกเป็น 4-8 สาเหตุ โดยปกติแล้วมักใช้ 4M คือ สาเหตุสำคัญจาก คน(Man) เครื่องจักร(Machine) วัสดุ(Material) และวิธีการ(Method)

  34. วิธีการสร้าง Fish Bone Diagram • ในการสร้างแผนภาพก้างปลา จำเป็นต้องดำเนินการผ่านวิธีการระดมสมองที่ประกอบด้วยหลักการ 4 ประการคือ – ห้ามวิพากษ์วิจารณ์ เพราะจะทำให้ผู้เสนอความคิดหยุดเสนอความคิดได้ และยังอาจทำให้การเสนอความคิดเห็นจะไม่เป็นไปอย่างตรงไปตรงมา – ความอิสระและเสรี โดยจะต้องทำให้บรรยากาศเป็นไปเสรีโดย ทำได้โดยการระดมสมองผ่านแผ่นกระดาษหรือการ์ด (Card)

  35. วิธีการสร้าง Fish Bone Diagram (ต่อ) – เน้นปริมาณความคิดมากกว่าคุณภาพ จะต้องกำหนดก่อนว่าสมาชิกแต่ละคนต้องเสนอความคิดเห็นอย่างน้อยคนละกี่ความคิดเห็นโดยไม่คำนึงว่าความคิดเห็นดังกล่าวจะมีคุณภาพอย่างไร – นำมารวมและปรับปรุง โดยการระดมสมองจะต้องมีการรวบรวมความคิดเห็นทั้งหมด และนำความคิดเห็นที่ได้ (อาจจะเป็นของคนอื่น) มาปรับปรุงหรือเพิ่มเติมเป็นความคิดใหม่

  36. ขั้นตอนการสร้าง Fish Bone Diagram • ให้ทำการนิยามปัญหาให้ชัดเจน ซึ่งหมายถึง – การนิยามปัญหาให้อยู่ในรูปปริมาณมิใช่อยู่ในรูปเชิงคุณภาพ – โดยควรจะมีการอภิปรายในทีมให้เข้าใจกันก่อนการระดมสมองจะเริ่มขึ้น – เช่นถ้านิยามปัญหาว่าผลิตภัณฑ์บกพร่องถือว่าไม่ชัดเจน – เพราะผลิตภัณฑ์หลายอาจมีประเภท หลายรุ่น แต่ละประเภทอาจมีข้อบกพร่องหลายกฎเกณฑ์ – ควรระบุลงไปว่ากฎเกณฑ์ใด หรือเป็นผลิตภัณฑ์บกพร่องแบบใด

  37. ขั้นตอนการสร้าง Fish Bone Diagram • ให้ทำการระดมสมองจากสมาชิกโดยผ่านวิธีการใช้การ์ด – ภายใต้ข้อตกลงเบื้องต้นก่อนว่าสมาชิกแต่ละคนต้องออกความคิดเห็นกี่ข้อ – แล้วให้เขียนความคิดเห็นลงในการ์ดที่เตรียมไว้แผ่นละหนึ่งข้อ – การระดมสมองจะแบบวิเคราะห์ความผันแปรต้องดำเนินการผ่าน หลักการ 3 จริง คือ – ระดมสมองผ่านการสังเกตที่หน้างานจริง ในสภาพแวดล้อมหรือสภาวะจริง ด้วยของจริง โดยพยายามหลีกเลี่ยงการระดมสมองในห้องประชุมที่อาศัยเพียงสามัญสำนึก เพราะจะทำให้ไม่ได้สาเหตุที่แท้จริง

  38. ขั้นตอนการสร้าง Fish Bone Diagram • เมื่อได้ดำเนินการระดมความคิดจากสมาชิกได้ครบถ้วนแล้ว จะต้องทำการกำหนด แนวความคิดของการจำแนกสาเหตุ เช่น – แนวความคิดด้านการผลิต 4M (คน เครื่องจักร วัตถุดิบ และวิธีการ)หรือ – แนวความคิดด้านการตลาด หรือ 4P (ผลิตภัณฑ์ ราคา ช่องทางจำหน่าย และการส่งเสริมการตลาด) หรือ – แนวความคิดด้านการบริหาร (การวางแผน การจัดองค์กร การมอบหมายงาน การอำนวยการ และการควบคุม) หรือ

  39. ขั้นตอนการสร้าง Fish Bone Diagram – แนวความคิดด้านสายบัญชา (ผู้จัดการฝ่าย ผู้จัดการแผนก หัวหน้างานและพนักงาน) หรือ – แนวความคิดด้านโลจิสติก (Logistics) (การขนส่ง การขนถ่าย การเก็บรักษา การส่งมอบ) หรือ – แนวความคิดอื่น ๆ อีกมากมายที่สอดคล้องกับสาเหตุที่กลุ่มได้ระดมความคิดออกมา

  40. สรุปการวิเคราะห์ปัญหาสรุปการวิเคราะห์ปัญหา • พิจารณาสาเหตุหลักของปัญหาในแต่ละด้าน เมื่อพิจารณาจนครบทุกสาเหตุหลักแล้วอาจพบว่า จากสาเหตุเหล่านั้น สาเหตุใดเป็นสาเหตุที่แท้จริงปริมาณมากน้อยแค่ไหน อาจทำการวัดโดยอาศัยหลักการพาเรโต • ในการเลือกแก้ปัญหาจากสาเหตุใดก็ตาม เกณฑ์ที่นิยมใช้เป็นเกณฑ์ในการเลือก ก็คือ ต้องจ่ายค่าแรงต่ำที่สุด ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่ำที่สุด ลงทุนน้อย หรือความต้องการในลักษณะที่ว่าใช้พื้นที่ส่วนที่เป็นพื้นที่น้อยที่สุด หรือใช้วัสดุอย่างเกิดประโยชน์สูงสุด หรือการที่

  41. 3. การหาวิธีการที่เป็นไปได้ในการแก้ปัญหา • ต้องมีวิธีการแก้ปัญหาหลายๆ วิธี โดยที่ทุกวิธีล้วนแต่มีความเป็นไปได้ จากนั้นนำแต่ละวิธีมาเปรียบเทียบเพื่อเลือกเอาวิธีที่ดีที่สุด • หลักการ คือ ไม่ควรมองจากระบบการทำงานแบบเดิมเพียงอย่างเดียว • หรือพัฒนาจากวิธีการเดิมเพื่อป้องกันการเกิดปัญหาขึ้นอีก

  42. 4. การประเมินผลทางเลือกต่างๆ • ขั้นตอนนี้จะนำแต่ละวิธีมาพิจารณาเปรียบข้อดี ข้อเสีย อย่างสมเหตุผล วิธีการแก้ปัญหาใดที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดและเกณฑ์การพิจารณาตัดสินใจที่วางๆไว้สามารถตัดทิ้งได้เลย • การออกแบบวิธีทำงาน จะไม่มีคำตอบใดที่ถูกต้องที่สุด การพิจารณาสามารถวัดออกมาในเชิงปริมาณเพื่อให้ได้มาซึ่งวิธีที่เหมาะสม

  43. 4. การประเมินผลทางเลือกต่างๆ (ต่อ) • คำตอบและวิธีการแก้ปัญหาที่เป็นไปได้มีการเลือกไว้ 3 ลักษณะ คือ • คำตอบในอุดมคติ • คำตอบที่สามารถนำไปใช้ได้ทันที • คำตอบที่สามารถนำไปใช้ได้ในอนาคตหรือภายใต้เงื่อนไขต่างๆ เช่น ว่าวิธีนี้เหมาะสำหรับกรณีที่ผลผลิตรายปีเพิ่มขึ้น หรือกรณีที่คุณภาพของวัสดุสม่ำเสมอ หรือกลุ่มคนงานไดรับการฝึกอบรมมาอย่างดี

More Related