1 / 68

Inhalation anesthesia

Inhalation anesthesia. พญ.ธัญยธรณ์ พันธ์ภานุสิทธิ์ , พบ. , วว.วิสัญญีวิทยา ภาควิชาวิสัญญีวิทยา วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล. วัตถุประสงค์. ปัจจัยที่มีผลต่อการนำสลบ ความเข้มข้นของยาในลมหายใจเข้า (Inspired concentration,FI) Concentration effect Second gas effect

hien
Download Presentation

Inhalation anesthesia

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Inhalation anesthesia พญ.ธัญยธรณ์ พันธ์ภานุสิทธิ์,พบ.,วว.วิสัญญีวิทยา ภาควิชาวิสัญญีวิทยา วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล

  2. วัตถุประสงค์ • ปัจจัยที่มีผลต่อการนำสลบ • ความเข้มข้นของยาในลมหายใจเข้า(Inspired concentration,FI) • Concentration effect • Second gas effect • Alveolar ventilation(VA) • ปัจจัยที่มีผลต่อความเข้มข้นของยาในถุงลมปอด • ความสามารถในการละลายของยา(solubility) • Cardiac output • ความแตกต่างของระดับยาในเลือดดำและในถุงลมปอด(PV-PA) • การฟื้นจากยาระงับความรู้สึกชนิดสูดดม • Diffusion hypoxia

  3. การบริหารยาระงับความรู้สึกชนิดสูดดมการบริหารยาระงับความรู้สึกชนิดสูดดม • วัตถุประสงค์คือทำให้ความดันไอของยาระงับความรู้สึกชนิดสูดดม(ระดับยา)ในสมองอยู่ในระดับที่พอเหมาะเพื่อให้ได้ระดับความลึกของการสลบตามที่ต้องการ • ซึ่งต้องเข้าใจเภสัชจลนศาสตร์ของยา (Uptake and distribution)

  4. การบริหารยาระงับความรู้สึกชนิดสูดดมการบริหารยาระงับความรู้สึกชนิดสูดดม • ค่าความดันไอในถุงลมปอดจะเป็นตัวแทนของค่าความดันไอของยาในสมอง • ปัจจัยใดที่ทำให้ความดันไอของยาในถุงลมปอดเพิ่มขึ้นก็จะทำให้ค่าความดันไอในสมองเพิ่มขึ้นด้วย

  5. ปัจจัยที่มีผลต่อการนำสลบปัจจัยที่มีผลต่อการนำสลบ การนำสลบผู้ป่วยจะช้าหรือเร็วขึ้นกับปัจจัยหลักสองประการได้แก่ • ปัจจัยที่นำยาเข้าสู่ปอด • ปัจจัยที่มีผลต่อความเข้มข้นของยาในถุงลมปอด

  6. 1.ปัจจัยที่นำยาเข้าสู่ปอด1.ปัจจัยที่นำยาเข้าสู่ปอด • 1.1 Inspired concentration,FI • เมื่อเพิ่มFIจะทำให้ FAเพิ่มขึ้นได้อย่างรวดเร็ว • การเพิ่มFIทำได้โดยการ: • เพิ่มความเข้มข้นของยาจาก vaporizer • การใช้ FGF สูงๆ • ผลของ concentration effect และ second gas effect • ถ้าสามารถทำให้ FA /FI =1 หรือใกล้เคียงได้เร็วก็จะนำสลบได้เร็ว

  7. 1.2 Concentration effect N2O take up 25 ml 100 ml • O2 • ml • N2O 25 ml O2 50 ml N2O 50 ml O2 50 ml N2O 25 ml

  8. 1.2 Concentration effect • สรุปได้ว่าสิ่งที่เกิดขึ้นคือ Alveolar volume ที่ลดลงนั่นเอง

  9. second gas effect • เกิดเมื่อใช้ N2O ร่วมกับยาดมสลบชนิดอื่น • N2O ทำให้ความเข้มข้นของยาดมสลบอีกชนิดนั้น สูงขึ้น • ทำความเข้าใจเหมือน concentration effect

  10. Alveolar ventilation(VA) • การเพิ่มขึ้นของ VAโดยการเพิ่มอัตราการหายใจ จะทำให้อัตราส่วนของ FA /FIเข้าใกล้ 1 ได้เร็วขึ้นและจะมีผลต่อยาที่มีค่า solubility สูงมากกว่ายาที่มีค่า solubility ต่ำ อย่างไรก็ตาม การเพิ่มขึ้นของยาในถุงลมปอดจะถูกจำกัดโดย FRC ถ้าผู้ป่วยมีค่า FRC สูงเช่น COPD จะทำให้อัตราการเพิ่มขึ้นของ FAลดลง

  11. ปัจจัยที่มีผลต่อความเข้มข้นของยาในถุงลมปอดปัจจัยที่มีผลต่อความเข้มข้นของยาในถุงลมปอด • Anesthetic uptake คือการที่ยาระงับความรู้สึกชนิดสูดดมถูกดูดซึมผ่านจากถุงลมปอดเข้าสู่กระแสเลือด จะมากหรือน้อยขึ้นกับปัจจัยต่างๆดังนี้ • solubility • cardiac output • ความแตกต่างของระดับยาในหลอดเลือดดำและในถุงลมปอด PV - PA

  12. ความสามารถในการละลายของยา(solubility) = λ • cardiac output = Q • PV -PA

  13. x Q x ( ) Anesthetic uptake= _________________ barometric pressure PV -PA λ

  14. เนื้อเยื่อแต่ละชนิด สามารถรับยาระงับความรู้สึกชนิดสูดดมมากหรือน้อยขึ้นกับปัจจัย 3 ประการ • การละลายของยาในเนื้อเยื่อ(solubility) • ปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงเนื้อเยื่อ • ความแตกต่างของระดับยาในเลือดแดงที่มาเลี้ยงกับระดับยาในเนื้อเยื่อแต่ละชนิด

  15. Solubility(partition coeffecient) • เป็นค่าแสดงการกระจายของก๊าซหรือไอระเหยระหว่างตัวกลาง 2 ชนิด เช่น blood/gas หรือ tissue/gas • เมื่อ partial pressure ในตัวกลางทั้งสองอยู่ในภาวะสมดุล เปรียบเทียบปริมาณไอระเหยหรือก๊าซในตัวกลางทั้งสอง

  16. Solubility(partition coeffecient) • ยาดมสลบที่มีค่า blood/gas solubility สูง หมายถึง ยาจะถูกดูดซึมจากปอดไปได้มาก(ปริมาณยาที่ละลายในเลือดมีมาก) จึงทำให้ความเข้มข้นของยาในถุงลมปอดเพิ่มช้า สมดุลของระดับยาในสมองและถุงลมปอดจึงช้า ทำให้นำสลบได้ช้า

  17. ตารางค่า solubility

  18. Cardiac output(Q) • เลือดจะนำยาออกจากถุงลมปอดไป ทำให้ความเข้มข้นของยาดมสลบในปอดลดลง • ถ้า CO สูง ก็จะถึงภาวะสมดุลของระดับยาช้า

  19. PV -PA • ถ้าเลือดดำที่มาที่ปอดมีระดับยาต่ำ ก็จะรับยาไปได้มาก ทำให้ FA เพิ่มได้ช้า เช่นช่วงแรกของการดมสลบ • เนื้อเยื่อต่างๆมีปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงไม่เท่ากัน เนื้อเยื่อที่เลือดไปเลี้ยงมากก็จะอิ่มตัวด้วยยาเร็วกว่า • แบ่งเนื้อเยื่อออกเป็น 4 กลุ่ม

  20. ตารางแสดง tissue group

  21. การฟื้นจากยาระงับความรู้สึกชนิดสูดดมการฟื้นจากยาระงับความรู้สึกชนิดสูดดม • จะเกิดเมื่อระดับยาในสมองลดลง • ปัจจัยที่มีผลเป็นปัจจัยเดียวกับที่มีผลต่อการนำสลบ

  22. การฟื้นจากยาระงับความรู้สึกชนิดสูดดมการฟื้นจากยาระงับความรู้สึกชนิดสูดดม • Fresh gas flow ที่สูง และการใช้วงจรวางยาสลบที่เป็นชนิด non-rebreathing จะทำให้ผู้ป่วยฟื้นจากสลบเร็ว • Alveolar ventilation มาก • blood/gas solubility ต่ำ จะตื่นเร็ว • cardiac output สูง จะตื่นเร็ว • ความแตกต่างระหว่างระดับยาในเลือดดำและถุงลมปอด ถ้า Pv มากก็จะตื่นช้า

  23. Diffusion Hypoxia • หมายถึงภาวะ hypoxia ที่เกิดขึ้นหลังปิดไนตรัสออกไซด์ ทั้งนี้เนื่องจากไนตรัสออกไซด์สามารถละลายได้ดีกว่าไนโตรเจนถึง 34 เท่า ไนตรัสออกไซด์ปริมาณมากจากกระแสเลือดเข้าไปในถุงลมปอดเมื่อผู้ป่วยหายใจเอาอากาศปกติเข้าสู่ปอดทำให้ความเข้มข้นของออกซิเจนในถุงลมปอดลดลง

  24. Diffusion Hypoxia • ทำให้ CO2ในถุงลมและในเลือดต่ำ ซึ่งCO2เป็นตัวกระตุ้นศูนย์ควบคุมการหายใจ ทำให้ผู้ป่วยไม่หายใจ • มักเกิด 5-10 นาทีหลังหยุดให้ N2O • ป้องกันด้วยการให้ 100% O25-10 นาทีทุกครั้งที่หยุดให้ N2O

  25. Pharmacodynamics of Inhalational anesthetic “ Anesthetic potency of inhalational agents correlates directly with their lipid solubility”

  26. MAC Minimum Alveolar Concentration (MAC); หมายถึง ความเข้มข้นต่ำที่สุด(partial pressure)ของยาดมสลบใน alveoli ที่ทำให้ผู้ป่วย 50% ไม่ตอบสนองต่อ noxious stimuli(prevent skeletal muscle movement) ที่ 1 atm

  27. MAC(ต่อ) ค่า MAC จะบอกถึง potency ของยาสลบ กล่าวคือ ถ้าค่า MAC ต่ำ  potency มาก MAC สูง  potency น้อย

  28. MAC (ต่อ) - ค่า MAC ของยาดมสลบต่างชนิดกันสามารถบวกกันได้ อย่างคร่าวๆ ( additive) - ค่าประมาณ 1.3 MAC  95% no movement - 0.3 – 0.4 MAC  MAC awake

  29. ชนิดของ Inhalational anesthetics ที่ใช้บ่อยๆ • Nitrous oxide ( N2O ) • Halothane ( F3 ) • Methoxyflurane ( ไม่มีที่ใช้แล้ว ) • Enflurane ( ไม่มีที่ใช้แล้ว ) • Isoflurane • Sevoflurane • Desflurane

  30. Nitrous oxide (N2O)(laughing gas) -เป็นยาดมสลบตัวเดียวที่อยู่ในรูป gas -เป็น gas ที่ไม่มีสีและไม่มีกลิ่น -MAC = 105% -เป็นยาดมสลบที่มีฤทธิ์อ่อน จึงมักใช้ร่วมกับยาดมสลบชนิดอื่นๆ -ส่วนใหญ่ขับออกจากร่างกายทางลมหายใจออก -metabolism ในร่างกาย = 0.004% -prolong exposure : bone marrow depression, teratogenic effect -Diffusion hypoxia

  31. Nitrous oxide (ต่อ) contraindication -air embolism -pneumothorax -acute intestinal obstruction -intraocular air bubble

  32. 2.Halothane(Fluothane)(F3) physical properties -halogenated alkane -thymol preservative , amber-colored bottle. -ราคาถูกสุด (volatile) -MAC = 0.75%

  33. Halothane(ต่อ) Effect on organ system a)cardiovascular -Hypotension จากผลของ myocardium depression -เพิ่มอุบัติการณ์ arrhythmia จาก adrenaline

  34. Halothane(ต่อ) b) respiratory -rapid RR but shallow breathing  PaCO2เพิ่มขึ้น -potent bronchodilator -best bronchodilator (เมื่อเทียบกับ volatile ตัวอื่น)

  35. Halothane(ต่อ) c) cerebral -dilate cerebral vessel  increase CBF -inhibit autoregulation d) neuromuscular -relax skeletal muscle ,เสริมฤทธิ์กับ muscle relaxant -trigger for MH

  36. Halothane(ต่อ) e) renal -decrease renal blood flow , decrease GFR f) hepatic -decrease hepatic blood flow

  37. Halothane(ต่อ) Biotransformation&toxicity -20% metabolite โดยตับ -metabolite ที่สำคัญที่ได้คือ trifluoroacetic acid ที่ทำหน้าที่เป็น hapten  Halothane hepatitis -Halothane hepatitis (1:35,000)

  38. Halothane(ต่อ) contraindication -liver disease -pheochromocytoma  arrhythmia มากได้ - Hx of MH

  39. 3.Methoxyflurane(Penthrane) -ไม่มีที่ใช้ในปัจจุบันแล้ว -MAC = 0.16% (most potent) -50%  Metabolism ในร่างกาย (liver) -metabolite  Nephrotoxicity

  40. 4.Enflurane(Ethrane) -ไม่มีที่ใช้ในปัจจุบันแล้ว -MAC = 1.7% -กระตุ้นให้เกิดการชักแบบ tonic clonic seizure -metabolite  Nephrotoxicity

More Related