1 / 16

สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา

สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา. เสนอ. จัดทำโดย. 1. นางสาววิภา บุพาที 560220 2. นางสาว ณัฐ นา บุตรศรี 560209 3. นางสาว สุวนันท์ ผา กิม 560360. โรคอ้วน.

hien
Download Presentation

สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหาสาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา เสนอ จัดทำโดย 1. นางสาววิภา บุพาที 560220 2. นางสาวณัฐนา บุตรศรี 560209 3. นางสาวสุวนันท์ ผากิม 560360

  2. โรคอ้วน โรคอ้วน (Obesity)หรือความอ้วนเป็นจุดเริ่มของโรคอันตรายร้ายแรงอื่นๆอีกหลายโรค การที่ร่างกายมีน้ำหนักมากเกินเกณฑ์ปกติเนื่องจากการกินอาหารเข้าไปแล้วร่างกายใช้ไม่หมดจึงต้องสะสมเป็นไขมันส่วนเกินตามส่วนต่างๆ ของร่างกายโดยเฉพาะบริเวณหน้าท้อง เมื่อไขมันสะสมเพิ่มขึ้นมาเรื่อยๆจนกลายเป็นสาเหตุของโรคร้ายอื่นๆ เช่น โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ฯลฯ

  3. สาเหตุของโรคอ้วน 1.ได้พลังงานจากอาหารมากเกินความต้องการของร่างกาย คือ การกินเข้าไปมากแต่ใช้น้อย อาหารที่ให้พลังงานคือ อาหารพวกแป้งและน้ำตาล เนื้อสัตว์ต่าง ๆ ไขมัน กะทิ และเหล้าเบียร์ ฉะนั้น หากใครกินอาหารประเภทของหวาน ของมัน หรอดื่มเหล้าเบียร์มากก็อ้วนได้ทั้งนั้น 2.อ้วนเพราะออกกำลังกายน้อยไป เช่นคนที่ใช้เวลานั่งโต๊ะทำงาน เป็นส่วนใหญ่

  4. 3.กรรมพันธุ์ ก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้คนอ้วน แต่พบได้น้อย คนอ้วนมักจะชอบโทษว่ากรรมพันธุ์เป็นสาเหตุที่ทำให้ตนอ้วน ซึ่งความจริงแล้วโรคอ้วนมักมาจากปัญหาของพฤติกรรมการชอบกินมากกว่า 4.ความอ้วนเกิดจากโรคบางชนิด เช่น ความผิดปกติของฮอร์โมน ความผิดปกติของสมอง แต่ความอ้วนจากสาเหตุนี้พบน้อยมาก

  5. 9 สัญญาณเตือนภัย! 1.เสื้อผ้าคับ 2.มีคนเริ่มทัก 3.คุณหมอแนะนำให้ลดน้ำหนัก 4.ค่า BMI (ดัชนีมวลกาย)มากกว่า25 5.ขนาดเฟอร์นิเจอร์เปลี่ยนไป 6.ร่ายกายส่งสัญญาณเตือน 7.ไม่รู้ว่าแต่ละวันทานอะไรเข้าไปบ้าง 8.ไม่อยากส่องกระจก 9.รู้สึกหมดเรี่ยวแรง

  6. 6 นิสัยทำให้อ้วน

  7. ตัวอย่างอาหารที่บริโภคทั่วไปจำแนกตามกลุ่มอาหารและพลังงานตัวอย่างอาหารที่บริโภคทั่วไปจำแนกตามกลุ่มอาหารและพลังงาน

  8. การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน

  9. 1.การออกกำลังกาย การลดพลังงานจากอาหารจะทำให้น้ำหนักลดลง การออกกำลังกายจะช่วยป้องกันไม่ให้น้ำหนักเพิ่มขึ้น การออกกำลังกายสามารถทำได้ทันที สำหรับผู้ที่อ้วนมาก และไม่เคยออกกำลังกายอาจจะเริ่มออกกำลังกายโดยการทำตัวให้กระฉับกระเฉง การออกกำลังสามารถออกวันละครั้งหรืออาจจะออกกำลังกายเป็นช่วงๆ เริ่มแรกอาจจะเดินวันละ 30 นาทีสัปดาห์ละ 3 วัน และค่อยๆเพิ่มเป็น 45 นาที การออกกำลังกายต้องการให้ร่างกายใช้พลังงานวันละ 100-200 กิโลแคลอรี

  10. การเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารการเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร • พยายามรับประทานอาหารเฉพาะในมื้ออาหารโดยเฉพาะที่โต๊ะอาหาร และลุกขึ้นจากโต๊ะทันทีที่อิ่ม • รับประทานวันละ 3 มื้อ • รับประทานอาหารเช้าทุกวัน • อย่าอดอาหารมื้อใดมื้อหนึ่ง • รับประทานผัก ผลไม้ ธัญพืชที่ไม่ขัดสี • ดื่มน้ำมากๆทั้งในมื้ออาหารและระหว่างมื้ออาหาร ดื่มน้ำ 1 แก้วก่อนอาหาร

  11. การรักษาโรคอ้วนด้วยยาการรักษาโรคอ้วนด้วยยา ผู้ที่อ้วนและจำเป็นต้องได้ยาช่วยในการรักษาจะมี เกณฑ์ในการให้ยาลดน้ำหนักคือ • 1.ดัชนีมวลกาย BMI มากกว่า 30 กก/ตารางเมตร • 2.หรือดัชนีมวลกาย 27 และมีปัจจัยเสี่ยงร่วมด้วย • 3.ผู้ป่วยรับประทานมากและเป็นสาเหตุของโรคอ้วน • 4.มีโรคที่เกิดจากความอ้วน เช่นโรคเบาหวาน ไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง • 5.มีอาการจากโรคอ้วน เช่น sleep apnea syndrome เข่าเสื่อม เป็นต้น

  12. ดังนั้นการลดความอ้วนจึงไม่จำเป็นต้องเป็นการอดอาหารหรือควบคุมรสชาติอาหารเสียจนจืดชืดน่าเบื่อ แต่การลดน้ำหนักที่ประสบความสำเร็จและได้ผลแน่นอนจะต้องทำอย่างค่อยเป็นค่อยไป ข้อสำคัญจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุของความอ้วน และ วิธีการปฏิบัติที่ถูกต้อง และสามารถปฏิบัติตามได้ตลอดไป น้ำหนักจะได้ไม่กลับมาเพิ่มอีก

  13. เอกสารอ้างอิง • 1. OraneeTangphao. Orlistat : A new antiobesitydrug.ThaiJoumal of Pharmacology. 2000; 22(1); 57-65. • 2. James H. Zavoral. Treatment with orlistat reduces cardiovascular risk in obese patients.Journal of Hypertension 1998; 16(2): 2013-2017. • 3. วิมล พันธุ์เวทย์. Orlistatทางเลือกใหม่ในการลดน้ำหนัก ศรีนครินทร วิโรฒเภสัชสาร2542; 4(1): 74-91.

More Related