1 / 54

จริยธรรมสำหรับข้าราชการ ยุคปัจจุบัน

จริยธรรมสำหรับข้าราชการ ยุคปัจจุบัน. พระมหาธรรมรัต อริยธมฺโม ป.ธ. ๕, ร.บ. , ศน.ม. มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช. ความหมายคำว่าจริยธรรม. จร + อิย + ธรรม จร = ประพฤติ อิย = ควร ธรรม = หน้าที่, ธรรมชาติ ธรรมะหรือสิ่งที่ควรประพฤติ. เมืองไทยวันนี้.

hidi
Download Presentation

จริยธรรมสำหรับข้าราชการ ยุคปัจจุบัน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. จริยธรรมสำหรับข้าราชการยุคปัจจุบันจริยธรรมสำหรับข้าราชการยุคปัจจุบัน พระมหาธรรมรัต อริยธมฺโม ป.ธ. ๕, ร.บ. , ศน.ม. มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช

  2. ความหมายคำว่าจริยธรรมความหมายคำว่าจริยธรรม จร + อิย + ธรรม จร = ประพฤติ อิย = ควร ธรรม = หน้าที่, ธรรมชาติ ธรรมะหรือสิ่งที่ควรประพฤติ

  3. เมืองไทยวันนี้ เมืองไทยทุกวันน่าหวั่นยิ่งนัก แบ่งพวกแบ่งพรรคต่างจ้องข่มขี่ ลืมความสมัครร่วมสามัคคี ตัวอย่างเคยมีแต่ก่อนมา บทเรียนมีไว้ในประวัติศาสตร์ ชะตาเมืองขาดคนไทยเป็นข้า เสียสามัคคีกรุงศรีอยุธยา เป็นทาสพม่าอยู่ตั้งหลายปี กว่าจะกู้นครให้กลับคืน ต้องทนขมขื่นหมดสิ้นศักดิ์ศรี ยังจำกันได้ใช่ไหมน้องพี่ อันความถือดีตัวใครตัวมัน เหมือนกองกรวดทรายที่ขาดน้ำแทรก ก็จะแตกแยกถึงความร้าวฉาน เมื่อถูกศัตรูจู่เข้ารุกราน มิอาจต้านทานอำนาจริปู

  4. คุณลักษณะของข้าราชการที่ทุกหน่วยงานปรารถนาคุณลักษณะของข้าราชการที่ทุกหน่วยงานปรารถนา • มีความรอบรู้ เหมือน คึกฤทธิ์ • มีความสุจริต เหมือน เปรม ติณสูลานนท์ • มีความอดทน เหมือน บิ๊กจิ้ว (พล.อ.ชวลิต) • มีความพลิกพลิ้ว เหมือน ชาติชาย • มีความกล้าตาย เหมือน อานันท์ • มีความอารมณ์ขัน เหมือน ควง อภัยวงศ์ • มีความซื่อตรง เหมือน สัญญา ธรรมศักดิ์ • มีความแน่นหนัก เหมือน สฤษดิ์ ธนะรัชต์ • มีความนุ่มนวล มัธยัสถ์ เหมือน ชวน หลีกภัย • มีความกล้าตัดสินใจ เหมือน ทักษิณ ชินวัตร ๑๑. เคร่งครัดศีลธรรม เหมือน สุรยุทธ์ จุลานนท์ ๑๒. รู้ทันผู้คน เหมือน สมัคร สุนทรเวช

  5. รอบรู้ • ให้รู้หลัก มีความรู้ที่สังคมยอมรับ • ให้รู้รอบ ไว้สำหรับแก้ปัญหา • ให้รู้ลึก รู้ลึกซึ้ง รู้จัก รู้จริง รู้แจ้ง • ให้รู้ละ ให้รู้สละ ละวาง

  6. สิ่งสำคัญที่จะต้องรู้มากที่สุดสิ่งสำคัญที่จะต้องรู้มากที่สุด • รู้ตน • รู้คน • รู้งาน

  7. ตน เตือนใคร ไม่ดีเท่า เราเตือนตัว ฝึกอะไร ไม่ดีเท่า เราฝึกตัว ฟ้องใคร ไม่ดีเท่า เราฟ้องตัว ตัดสินใคร ไม่ดีเท่า เราตัดสินตัว ดูอะไร ไม่ดีเท่า เราดูตัว รู้อะไร ไม่ดีเท่า เรารู้ตัว ชนะใคร ไม่ดีเท่า เราชนะตัว

  8. ครองคน ครองตน ครองงาน

  9. ข้าราชการยุคใหม่ ต้องเป็นคนเก่ง

  10. ๑. เก่งงาน ๑. ต้องรักในงาน ๒. ต้องขยันทำงาน ๓. ต้องตั้งใจทำงาน ๔. หมั่นพิจารณางานที่ทำ

  11. เป็นแบบไหน ฉลาดและขยัน เป็นนายคน ฉลาดและขี้เกียจบ้าง เป็นที่ปรึกษา โง่และขี้เกียจ เป็นคนรับใช้ โง่และขยัน ฆ่าเสียให้ตาย

  12. คนทำงานที่ขาดอิทธิบาทธรรมคนทำงานที่ขาดอิทธิบาทธรรม • เบื่อหน่าย - ไม่รักงาน • เกียจคร้าน - ไม่พากเพียร • ทอดธุระ - ไม่เอาใจใส่ • โง่เขลา - ไม่ใช้ปัญญาไตร่ตรอง

  13. หน้าที่ของคน หน้านอก บอกความใน หน้าใน บอกความดี หน้าที่ บอกความสามารถ

  14. คนที่ทำอะไรแล้วไม่สำเร็จคนที่ทำอะไรแล้วไม่สำเร็จ เป็นคนชอบเพ้อฝันแล้วไม่ลงมือทำ (Fantasy) เป็นคนชอบฝันกลางวัน (Day Dreaming) เป็นคนเย่อหยิ่งในตัวเอง (Ego-Defensive)

  15. ๔ อย่า อย่าบ่น อย่าบึ้ง อย่าเบ่ง อย่าเบี้ยว บ่น - คนรำคาญ บึ้ง - คนหนี เบ่ง - คนหมั่นไส้ เบี้ยว - คนรังเกียจ

  16. คุณสมบัติของข้าราชการของชาติคุณสมบัติของข้าราชการของชาติ • รู้งานดี • ทำหน้าที่ไม่บกพร่อง • ต้องสุจริต • มีมิตรสัมพันธ์ • รู้ว่างานคือชีวิต

  17. การทำงานที่ไม่ทำให้หน่วยงานพัฒนาการทำงานที่ไม่ทำให้หน่วยงานพัฒนา • ทำงานแบบสวะ ปัดเขี่ยให้พ้นความรับผิดชอบ • ทำงานแบบเจ้าท่า ชอบโยก ดึง ดอง ถ่วง ยักท่า เต๊ะท่า ทำงานล่าช้า • ทำงานแบบไปรษณีย์ ส่งมาส่งไปขาดวินิจฉัยใคร่ครวญ • ทำงานแบบผักชีโรยหน้า เสียงดัง หน้าแดง แรงไม่ออก • ทำงานแบบหัวโบราณ เถรตรง ปฏิเสธการเปลี่ยนแปลง

  18. เกรดพิจารณาความก้าวหน้า -ล้าหลัง เกรดA นายเรียกใช้ เพื่อนชม ลูกน้องชอบ - ดี เกรด B นายชอบ เพื่อนชม ลูกน้องเฉย - เกือบดี เกรด C นายชอบ เพื่อนเฉย ลูกน้องชัง - เกือบไม่ดี เกรด D นายเฉย เพื่อนชัง ลูกน้องชั่ว ตัวชุ่ย - หมดดี

  19. สิ่งที่ผู้หวังความก้าวหน้าควรหลีกเลี่ยงสิ่งที่ผู้หวังความก้าวหน้าควรหลีกเลี่ยง เกียจคร้าน หลบงาน เห็นแก่ตัว มั่วสุม ขาดระเบียบวินัย ไร้สมรรถภาพ

  20. จริยธรรมสำหรับข้าราชการที่พึงมีจริยธรรมสำหรับข้าราชการที่พึงมี พระบาลีมีว่า ขมา ชาคิริยุฎฺฐานํ สํวิภาโค ทยิกฺขณา นายกสฺส คุณา เอเต อิจฺฉิตพฺพา หิ ตตฺถิโน ผู้บริหาร ผู้นำ หรือข้าราชการ ผู้เห็นประโยชน์เกื้อกูล ควรมีธรรม ๖ ประการดังนี้ คือ ๑. ขมา อดทน ๒. ชาคริยะ ตื่นตัว ๓. อุฏฺฐานะ ขยัน ๔.สังวิภาค เอื้อเฟื้อ ๕. ทยา เมตตากรุณา ๖. อิกฺขณา ตรวจสอบ

  21. ความเจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงานความเจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงาน อุฏฺฐานวโต สติมโต สุจิกมฺมสฺส นิสฺสมฺมการิโน สญฺญตสฺส จ ธมฺมชีวิโน อปฺปมตฺตสฺส ยโสภิวฑฺฒติ. ยศย่อมเจริญยิ่งแก่บุคคลผู้มีความขยันหมั่นเพียร มีสติ มีการงานสะอาด ใคร่ครวญถ้วนถี่แล้วจึงทำ มีความสำรวมระวัง ดำเนินชีวิตโดยชอบธรรม และมีความไม่ประมาท ถอดให้จำง่าย เป็นนิจขยัน ตั้งมั่นสติ ดำริงานชอบ รอบคอบก่อนทำ สำรวมอินทรีย์ ใจมีธรรมะ ละความประมาท

  22. ๒. เก่งคน(SOCIAL ABILITY) คาถามหาเสน่ห์ เมตตามหานิยม ทา ปิ อ ส • โอบอ้อมอารี (ทาน) • วจีไพเราะ (ปิยวาจา) • สงเคราะห์ทุกคน (อัตถจริยา) • วางตนพอดี (สมานัตตา)

  23. คุณลักษณะของการบริหารคนคุณลักษณะของการบริหารคน • ต้องปากจู๋ - พูดน้อย • ต้องหูกว้าง - ฟังมาก • ตาโต - ดูให้ถ้วนถี่ • โง่เป็น - ทำเป็นไม่รู้ คือ รู้ - ทำเป็นรู้ คือ ไม่รู้

  24. ทฤษฎี ๓ ช. • ทำให้เขา ชอบ • ทำให้เขา ช่วย • ทำให้เขา เชิด

  25. ถ้าต้องการความร่วมมือจากคนถ้าต้องการความร่วมมือจากคน • ถ้าต้องการให้เขามีกำลังใจช่วยเหลือ - ต้องประพฤติตนให้เป็นคนดีที่สุด • ถ้าต้องการให้เขาจงรักภักดี - ต้องมีความซื่อตรงต่อหน้าที่ของเรา ๓. ถ้าต้องการให้เขาเคารพนับถือ - ต้องมีเมตตาต่อเขาอย่างแท้จริง ๔. ถ้าต้องการให้เขาอยู่กับเราตลอดไป - ต้องอาศัยกรุณา ให้น้ำใจแก่เขา ๕. ถ้าต้องการให้เขามีมิ่งขวัญ - ในยามทุกข์ใจผู้นำต้องหนักแน่น , ยามสุข สงบเสงี่ยม, ในการรณรงค์ แกล้วกล้า , ไม่เหิมเกริม ในสมัยสุข, ไม่ซบเซา ในสมัยทุกข์

  26. อิศริญาณภาษิต อย่าคบมิตรพาลสันดานชั่ว จะพาตัวให้เสื่อมความเลื่อมใส คบนักปราชญ์นั่นแหละดีมีกำไร ท่านย่อมให้ความสบายหลายประตู

  27. น้ำใจ - ไมตรี บริวารมา เพราะน้ำใจมี บริวารหนี เพราะน้ำใจลด บริวารหมด เพราะน้ำใจแห้ง

  28. ความสามัคคีในหน่วยงานความสามัคคีในหน่วยงาน แบ่งพวก ทำให้เสียรัก แบ่งพรรค ทำให้เสียสามัคคี แบ่งทั้งพวกแบ่งทั้งพรรค เสียทั้งรักและเสียสามัคคี รวมพวก ได้รัก รวมพรรค ได้สามัคคี รวมทั้งพวกรวมทั้งพรรค ได้ทั้งรักและได้ทั้งสามัคคี

  29. หลักครองใจคน ๑.อยู่สูงให้นอนคว่ำ ๒.อยู่ต่ำให้นอนหงาย

  30. คาถามหานิยม ทา ปิ อะ สะ เอื้อเฟื้อดี - ทาน (ทา) วจีไพเราะ - ปิยวาจา (ปิ) สงเคราะห์ทุกคน - อัตถจริยา (อะ) วางตนเหมาะสม - สมานัตตตา (สะ)

  31. วัฒนธรรมกรมอนามัย H – Health การดูแลรักษาสุขภาพตนเอง เพื่อเป็นแบบอย่าง E – Ethicsมีจรรยาบรรณ ซื่อสัตย์ โปร่งใส ไม่เลือกปฏิบัติ A – Achievement มุ่งมั่น รับผิดชอบการปฏิบัติงาน ให้บรรลุเป้าหมาย L – Learningมุ่งแลกเปลี่ยนเรียนรู้ T – Trustเคารพในสิทธิ หน้าที่ ของตนเองและผู้อื่น H – Harmonyเน้นทำงานเป็นทีม ยอมรับทีมงาน 9

  32. ๓. เก่งคิด ๑. คิดขนดีใส่ตัว ๒. คิดขับชั่วออกไป ๓. คิดรักษาดีเอาไว้

  33. ความสำคัญของความคิด • สำเร็จที่คิด สัมฤทธิ์ที่พยายาม • คิดก่อนทำจะสัมฤทธิ์ ทำก่อนคิดจะเสียหาย • หยุดสิ่งที่ผิด อย่าคิดถึงสิ่งที่ล้มเหลว ถ้าเขาคิดว่าเขาทำได้ เขาก็จะทำได้ ถ้าเขาคิดว่าเขาจะประสบความสำเร็จ เขาก็จะประสบความสำเร็จ ถ้าเขาคิดว่าเขารวย เขาก็จะรวย ถ้าเขาคิดว่าจน เขาก็จะจน ดังนั้น ทุกสิ่งทุกอย่าง จึงอยู่ที่..จุดเริ่มต้นของความคิด

  34. ประเภทของความคิด ๑. คิดแบบวานนี้ มี ลักษณะคือ กลัวทำไม่ได้ กลัวเขาว่าให้ กลัวคนอื่นได้ดีกว่า มักพูดประโยคว่า ใครๆ เขาก็ทำกันอย่างนี้ทั้งนั้น คิดแต่เรื่องเล็กๆ น้อยๆ แล้วนำมาเป็นข้อจำกัด ไม่ยอมฟังคำแนะนำที่มีประโยชน์ คือ ดื้อรั้น คิดว่าตัวเองเก่งเสมอ

  35. ๒. คิดแบบพรุ่งนี้ • สิ่งที่ทำอยู่นี้ มีทางทำให้ดีไปกว่านี้หรือไม่ • การเปลี่ยนแปลงที่ดีกว่า ไม่ใช่เพิ่มคน เพิ่มเงิน แต่เพิ่มคุณภาพ

  36. อย่าแต่เพียงแค่คิด • อย่าเพียงคิดว่า ฉันอยากทำโน่น ทำนี่ แต่เราต้องคิดว่า ฉันจะต้องทำให้ได้ จึงจะเดินไปถึงสิ่งที่ฝันได้

  37. 14 รู้เรารู้เขา ทุกสิ่งที่ดำเนินการ ต้องมีความชัดเจน รบร้อยครั้ง ชนะร้อยครั้ง • แนวคิด • หลักการ • วิธีการ เปลี่ยนแปลง เริ่มจาก ภายใน สถานการณ์เปลี่ยน กลยุทธ์+ยุทธวิธี เปลี่ยน กลยุทธ์ต้อง มีคุณธรรม นายสุคนธ์ เจียสกุล มิย.47

  38. 12 ทำอย่างไรจึง คิดและทำได้ เหมือนคนเก่ง • ต้องเรียนรู้จากความผิดพลาด • มองอนาคต • ศึกษาต้นแบบ • ตั้งเป้าหมาย • ยอมรับปัญหาและหาทางออก Ref : ไบรอัน เทรซี่ นักจัดการกลยุทธ์เพื่อพัฒนาตนเอง / ผู้จัดการรายสัปดาห์ B-School / “กะเทาะแก่นคิด”10มีค.49

  39. ๔. เก่งดำเนินชีวิต ๑. ไม่หลงของเก่า ๒.ไม่เมาของใหม่ ๓. ไม่เสียใจเมื่อของเก่าใหม่เสื่อมสูญ ๔. ไม่อาลัยอากาศ

  40. ลักษณะของคนที่รู้จักชีวิตลักษณะของคนที่รู้จักชีวิต • รู้จักปฏิเสธในสิ่งที่ควรปฏิเสธ • กล้าหาญในสิ่งที่ควรกล้า • ลักษณะชีวิตที่พึงประสงค์ • สุขง่าย • ทุกข์ยาก • ลำบากใจน้อยกว่าคนอื่นๆ

  41. วิธีสร้างสุขในชีวิต ๑. รู้จักพอ ๒. รู้จักให้ ๓. รู้จักปล่อยวาง ๔. มองทุกอย่างว่าเป็นเรื่องธรรมดา

  42. สรุป จริยธรรมของข้าราชการต้องประกอบไปด้วย

  43. ธรรมมีอุปการะมาก ธรรมคุ้มครองโลก เบญจศีล ครองตน อิทธิบาท 4 อริยสัจ 4 สัปปุริสธรรม 7

  44. ครองตน สติ ( ความระลึกได้ ) ธรรมมีอุปการะมาก สัมปชัญญะ ( ความรู้ตัว ) หิริ ( ความละอายบาป ) ธรรมคุ้มครองโลก โอตตัปปะ ( ความเกรงกลัวบาป ) เบญจศีล ไม่ฆ่าสัตว์,ไม่ลักขโมย,ไม่ผิดในกาม,ไม่พูดเท็จ,ไม่ดื่มสุราและของมึนเมา

  45. ครองตน ฉันทะ ( มีใจรัก ) วิริยะ ( พากเพียรทำ ) อิทธิบาท 4 จิตตะ ( เอาใจฝักใฝ่ ) วิมังสา ( หมั่นตรึกตรอง ) ทุกข์ ( ความทุกข์ ) สมุทัย ( เหตุเกิดแห่งทุกข์ ) อริยสัจ 4 นิโรธ ( ความดับทุกข์ ) มรรค ( ข้อปฏิบัติสู่ความดับทุกข์ ) สัปปุริสธรรม 7 รู้เหตุ,รู้ผล,รู้ตน,รู้ประมาณ,รู้กาล,รู้ชุมชน,รู้คน

  46. ครองคน พรหมวิหาร 4 สังคหวัตถุ 4 ทิศ 6 ธรรมทำให้งาม 2

  47. ครองคน พรหมวิหาร 4 สังคหวัตถุ 4 เมตตา ( ความรักความปราถนาดี ) ทาน ( การให้ ) กรุณา ( ความสงสาร ) ปิยวาจา ( เจรจาอ่อนหวาน ) มุทิตา ( ความเบิกบานยินดี ) อัตถจริยา ( ทำตนเป็นประโยชน์ ) อุเบกขา ( มีใจเป็นกลาง ) สมานัตตา ( ความเสมอต้นปลาย )

  48. ครองคน ทิศ 6 ธรรมทำให้งาม 2 เบื้องหน้า ( บิดา มารดา ) เบื้องขวา ( ครู อาจารย์ ) ขันติ ( ความอดทน ) เบื้องหลัง ( บุตร ภรรยา / สามี ) เบื้องซ้าย (มิตรสหาย ) โสรัจจะ ( ความสงบเสงี่ยม ) เบื้องต่ำ ( บ่าว คนรับใช้ ) เบื้องบน ( พระสงฆ์ )

  49. ครองงาน ฆราวาสธรรม 4 กัลยาณมิตร 7

  50. ครองงาน ฆราวาสธรรม 4 กัลยาณมิตร 7 ปิโย ( น่ารัก ) สัจจะ ( ความจริง ) ครุ ( น่าเคารพ ) ทมะ ( ฝึกตน ) ภาวะนีโย ( น่าเจริญใจ ) วัตตาจะ ( พูดได้เหตุผล ) ขันติ ( อดทน ) วะจะนักขะโม ( อดกลั้น ) จาคะ ( เสียสละ ) คัมภีรัญจะ ( แถลงได้ลึกล้ำ ) โนจัฏฐาเน ( ไม่ชักนำในอฐานะ )

More Related