1 / 56

NCD เตรียมความพร้อม สู่ประชาคมอาเซียน

NCD เตรียมความพร้อม สู่ประชาคมอาเซียน. 9 สิงหาคม 2555. Members countries Brunei Cambodia Indonesia Lao PDR Malaysia Myanmar Philippines Singapore Thailand Viet Nam. ASEAN. Population 575 million Area 4.5 million square km. Main religions Islam, Buddhism, Hinduism

hewitt
Download Presentation

NCD เตรียมความพร้อม สู่ประชาคมอาเซียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. NCDเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนNCDเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน 9 สิงหาคม 2555

  2. Members • countries • Brunei • Cambodia • Indonesia • Lao PDR • Malaysia • Myanmar • Philippines • Singapore • Thailand • Viet Nam ASEAN Population 575 million Area 4.5 million square km. Main religions Islam, Buddhism, Hinduism Combined GDP USD $ 737 Billion Trade USD $ 720 Billion

  3. ASEAN Political-Security Community (APSC) • ASEAN Economic Community (AEC) • ASEAN Socio-Cultural Community (ASCC) ASEAN community • ไม่เจ็บ • ไม่จน • มีการศึกษา • ปลอดภัย • เอื้ออาทร One Vision, One Identity, One Community (by 2015)

  4. ASEAN Community One Vision, One Identity, One Community ASEAN community เสาหลัก ASEAN Community ASEAN Political-Security Community (APSC) ASEAN Economic Community (AEC) ASEAN Socio-Cultural Community (ASCC) 3 1 2

  5. หน่วยงานหลักของไทยตามโครงสร้างอาเซียน หน่วยงานหลักของไทยตามโครงสร้างอาเซียน ประชาคมอาเซียน ASEAN CommunityOne Vision, One Identity, One Community

  6. ความร่วมมือทางเศรษฐกิจความร่วมมือทางเศรษฐกิจ คือแรงขับเคลื่อนหลัก ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรี AECเป็นตลาดและ ฐานการผลิตเดียว เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี มีการลงทุนอย่างเสรี เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรี

  7. คาดหมายผลกระทบจากการเปิดการค้า การลงทุนอย่างเสรี แรงงานข้ามชาติเข้ามามากขึ้น มีการเคลื่อนย้ายอย่างเสรีของกลุ่มประชากรมนุษย์ สัตว์ พืช อาหาร และสินค้า

  8. ประเด็นสาธารณสุขของ AEC - การเปิดเสรีการค้าและบริการสุขภาพ กำหนดให้มีการเคลื่อนย้ายบริการและแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี รวมถึงบริการด้านสุขภาพ ผู้ประกอบวิชาชีพด้านการแพทย์ ทันตแพทย์ และการพยาบาล สามารถเดินทางไปประกอบอาชีพในประเทศอาเซียนได้อย่างเสรี - การปรับกฎระเบียบต่างๆ ให้เป็นไปตามข้อตกลงของอาเซียน เช่น กฎระเบียบเครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์ยา เครื่องมือแพทย์ เป็นต้น ที่มา : สำนักการสาธารณสุขระหว่างประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

  9. ASEAN CommunityOpportunity vs. Threats Opportunity Threats

  10. ASEAN CommunityOpportunity vs. Threats Threats Opportunity

  11. ASEAN CommunityOpportunity vs. Threats Opportunity Threats

  12. ASEAN “One” communitycomes with opportunities and threats • Threats • Easier and more cross-border movements of people, workforce; hence, the source of infections • Influx of poor quality food, drugs, chemicals, alcohol & tobacco • More accidents • Overload of health service • Drainage of HCW • Etc. Opportunities • Larger markets, higher economic growth • More work opportunities • Better IT network • More exchange and collaborations • Etc.

  13. วิเคราะห์ผลกระทบทางลบมุมมองจากสำนักวิชาการ กรมควบคุมโรค มีการเคลื่อนย้ายของประชากรมนุษย์ สัตว์ พืช และอาหาร อย่างกว้างขวาง มีความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรค - โรคติดต่อที่สำคัญหลายโรค - โรคติดต่ออุบัติใหม่ เช่น ไวรัสนิปาห์ ฯลฯ - เชื้อดื้อยา เช่น เชื้อวัณโรค โรคเอดส์ ฯลฯ - โรคติดต่อที่ถูกกำจัดกวาดล้างหมดไปจากประเทศไทย แล้ว เช่น กาฬโรค ฯลฯ ก็อาจกลับมาระบาดได้อีก

  14. วิเคราะห์ผลกระทบทางลบมุมมองจากสำนักวิชาการ กรมควบคุมโรค มีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจากประเทศเพื่อนบ้านเข้ารับการรักษาพยาบาลในประเทศไทยมากขึ้น - ก่อภาระด้านทรัพยากรการแพทย์ในสถานพยาบาล ภาครัฐเพิ่มมากขึ้น - ก่อภาระการบริหารจัดการเพื่อป้องกันควบคุม โรคติดต่อในสถานบริการภาคเอกชนเพิ่มมากขึ้น

  15. วิเคราะห์ผลกระทบทางลบมุมมองจากสำนักวิชาการ กรมควบคุมโรค • มีการนำเข้าหรือลักลอบนำเข้าอาหารหรือผลิตภัณฑ์เสี่ยงต่อสุขภาพเข้าสู่ประเทศไทยมากขึ้น • บุหรี่ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ อาหารหรือขนม (ไขมันหรือเกลือสูง เค็มหรือหวานมาก) เพิ่มความเสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคไม่ติดต่อมากขึ้น • สารเคมีอันตราย ทั้งในภาคการเกษตรและภาคอุตสาหกรรม ที่ถูกห้ามหรือมีมาตรการลดการนำเข้าไปแล้ว เพิ่มความเสี่ยงการป่วยหรือเสียชีวิตจากสารพิษและโรคมะเร็ง

  16. วิเคราะห์ผลกระทบทางลบมุมมองจากสำนักวิชาการ กรมควบคุมโรค สินค้าบางกลุ่มราคาถูกลง หาซื้อได้ง่ายขึ้นเช่น เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ มีการแข่งขันสูง อาจตามมาด้วยการโฆษณาและรูปแบบการดื่มใหม่ๆ - เพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ เช่น โรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ - เพิ่มปัญหาสุขภาพจากผลของสุรา เช่น โรคตับแข็ง - เพิ่มปัญหาครอบครัวและสังคม

  17. วิเคราะห์ผลกระทบทางลบมุมมองจากสำนักวิชาการ กรมควบคุมโรค อาหาร/ผลิตภัณฑ์ที่เสี่ยงต่อสุขภาพเข้าสู่ไทยมากขึ้น เช่น น้ำมันปาล์ม บุหรี่ สุรา ทำให้เกิดโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น การลักลอบนำเข้าสารเคมีหรือผลิตภัณฑ์ต้องห้าม เช่น ผ้าเบรกที่ใช้สารแอสเบสตอสเป็นส่วนประกอบ มีโอกาสนำเข้าสินค้าที่ไม่ได้มาตรฐาน เช่น หมวกนิรภัย รถจักรยานยนต์ มีผลต่อการบาดเจ็บ

  18. วิเคราะห์ผลกระทบทางลบมุมมองจากสำนักวิชาการ กรมควบคุมโรค การเดินทางติดต่อของคนในประชาคมอาเซียน คล่องตัวและสะดวกมากขึ้น แต่พฤติกรรมการใช้รถใช้ถนนของคนในแต่ละประเทศที่มีความแตกต่างกัน อาจส่งผลให้ การบาดเจ็บและการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจร เพิ่มขึ้น

  19. วิเคราะห์ผลกระทบทางบวกมุมมองจากสำนักวิชาการ กรมควบคุมโรค นโยบายความร่วมมือระหว่างประเทศด้านการแพทย์และสาธารณสุขในประชาคมอาเซียนมีความชัดเจนขึ้น - ส่งผลให้การดำเนินแผนงาน/โครงการมี ความ สะดวกขึ้น - ได้รับการสนับสนุนการดำเนินแผนงาน/ โครงการเพิ่มขึ้น ทั้งจากรัฐบาลและ แหล่งสนับสนุนจากภายนอก

  20. วิเคราะห์ผลกระทบทางบวกมุมมองจากสำนักวิชาการ กรมควบคุมโรค มีความก้าวหน้าด้านโครงสร้างพื้นฐานการคมนาคมและเทคโนโลยีการสื่อสารมากขึ้น - การติดต่อสื่อสารระหว่างบุคลากรและผู้เชี่ยวชาญเกิดความ คล่องตัว - มีความร่วมมือในการเฝ้าระวังและป้องกันควบคุมโรคเพิ่มขึ้น - การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร องค์ความรู้เทคโนโลยี รูปแบบการปฏิบัติที่ดีมากขึ้น - มีการใช้มาตรการที่สอดคล้องกัน ช่วยลดอุปสรรคต่อการเดินทางและการค้า รวมทั้งการดำเนินงานที่อาจกระทบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

  21. วิเคราะห์ผลกระทบทางบวกมุมมองจากสำนักวิชาการ กรมควบคุมโรค เจ้าหน้าที่และประชาชนในแต่ละประเทศของประชาคมอาเซียน มีโอกาสเพิ่มขึ้นในการพัฒนา - ขีดความสามารถและองค์ความรู้ - ทักษะด้านภาษา เช่น ภาษาอังกฤษ (ภาษาทางการ ของอาเซียน) ภาษาของประเทศในอาเซียน ภาษา ของประเทศที่มีความร่วมมือกับอาเซียน (เช่น จีน ญี่ปุ่น เกาหลี) - ทักษะ/ฝีมือด้านเทคโนโลยี - โอกาสการหาประสบการณ์และการทำงานต่างประเทศ

  22. วิเคราะห์ผลกระทบทางบวกมุมมองจากสำนักวิชาการ กรมควบคุมโรค แรงงานต่างด้าวมีการเคลื่อนย้ายแบบถูกต้องตามกฎหมายมากขึ้น - สามารถเข้าไปเฝ้าระวังและป้องกันควบคุมโรค ในกลุ่มประชากรนี้ได้ง่ายขึ้น - กลุ่มแรงงานต่างด้าวมีโอกาสการเข้าถึงบริการ สาธารณสุขได้มากขึ้น ช่วยลดความเสี่ยงต่อ การเกิดการแพร่ระบาดของโรคจากกลุ่มคน เหล่านี้

  23. ASEAN Socio-cultural Community – ASCC ทำให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อยู่ร่วมกันในสังคมที่เอื้ออาทร ประชากรมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี ได้รับการพัฒนาในทุกด้าน และมีความมั่นคงทางสังคม • การพัฒนาสังคม โดยการยกระดับความเป็นอยู่ของผู้ด้อยโอกาสและผู้ที่อาศัยในถิ่นทุรกันดาร และส่งเสริมการมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันของกลุ่มต่างๆ • การพัฒนาการฝึกอบรม การศึกษาระดับพื้นฐานและสูงกว่า การพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การสร้างงาน และการคุ้มครองทางสังคม • การส่งเสริมความร่วมมือในด้านสาธารณสุขโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ • การจัดการปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม • การส่งเสริมการปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเขียน นักคิดและศิลปินในภูมิภาค

  24. Action lines under ASCC blueprint 2009-2015 • A. Human Development • B. Social Welfare and Protection • C. Social Justice and Rights

  25. Action lines under ASCC blueprint 2009-2015 • A. Human Development • A.1. Advancing and prioritising education • A.2. Investing in human resource development • A.3. Promotion of decent work • A.4. Promoting Information and Communication Technology (ICT) • A.5. Facilitating access to applied Science and Technology (S&T) • A.6. Strengthening entrepreneurship skills for women, youth, elderly and the disabled

  26. Action lines under ASCC blueprint 2009-2015 • B. Social Welfare and Protection • B.1. Poverty Alleviation • B.2. Social safety net and protection from the negative impacts of integration and globalization • B.3. Enhancing food security and safety • B.4. Access to healthcare and promotion of healthy lifestyles • B.5. Improving capability to control CD • B.6. Ensuring a drug-free ASEAN • B.7. Building disaster-resilient nations and safer communities

  27. Action lines under ASCC blueprint 2009-2015 • C. Social Justice and Rights • C.1 Promotion and protection of the rights and welfare of women, children, the elderly, and disabled • C.2. Protection and promotion of the rights of migrant workers • C.3 Promoting Corporate Social Responsibility (CSR)

  28. B3. Enhancing food security and safety B4. Access to healthcare and promotion of healthy lifestyles B5. Improving capability to control communicable diseases B6. Ensuring a drug-free ASEAN B7. Building disaster-resilient nations and safer communities Health-oriented action lines under ASCC blueprint 2009-2015 CD, NCD CD, NCD, En-Oc CD NCD CD, NCD, En-Oc

  29. กลไกความร่วมมือการสาธารณสุขอาเซียน HMM กลไกการประสานความร่วมมือ ในกรอบ ASCC blueprint แบ่งเป็น 3 ระดับหลัก • ระดับรัฐมนตรี มีเวทีการดำเนินงาน คือ การประชุมรัฐมนตรีสาธารณสุขอาเซียน (Health Ministers Meeting – HMM) • ระดับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอาวุโส มีเวทีการดำเนินงาน คือ Senior Officer Meeting on Health Development (SOMHD) • ระดับคณะทำงาน/คณะผู้เชี่ยวชาญ (Subsidiary Bodies and Task Forces) SOMHD Task forces Task forces Task forces Task forces Task forces Task forces Task forces

  30. SOMHD Subsidiary Bodies and Task Forces ASEAN Plus Three Field Epidemiology ASEAN Training Network (ASEAN Plus Three FETN) ASEAN Task Force on AIDS (ATFOA) ASEAN Focal Point on Tobacco Control (AFPTC) ASEAN Expert on Communicable Diseases (AEGCD) ASEAN WG on Pandemic Preparedness & Response (AWGPPR) ASEAN Task Force on Non Communicable Disease (ATFNCD) ASEAN Expert Group on Food Safety (AEGFS) ASEAN Working group on Pharmaceutical Development (AWGPD) ASEAN Task Force on Traditional Medicine (ATFTM) ASEAN Task Force on Maternal and Child Health (ATFMCH) ASEAN Mental Health Task Force (AMT)

  31. ASEAN Task Force on Non- Communicable Diseases (ATFNCD)

  32. Regional Action Plan on Healthy ASEAN Lifestyles • Vision:  By 2020 all ASEAN citizens will lead healthy lifestyles consistent with their values, beliefs and culture in supportive environments.  • Priority areas: • Accident and injury • Alcohol consumption • CD control      • Environmental health • Healthy ageing • Mental health • NCD prevention • Nutrition • Physical activity • Substance abuse • Tobacco control • Women’s and children’s health

  33. กรอบข้อตกลงต่างๆ ภายใต้ ASCC • บันทึกความเข้าใจระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนกับองค์กรโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ • ASEAN Roadmap for the Attainment of the Millennium Development Goals • Hanoi Declaration on Traditional Medicine in ASEAN • Bangkok Declaration on Traditional Medicine in ASEAN • ASEAN Decade of Persons with Disabilities • ASEAN Social Work Consortium • The ASEAN Commission on the Promotion & Protection of the Rights of Women and Children [ACWC], Etc.

  34. Overlapping Regional Networks APEC ASEAN ACMECS MBDS

  35. อาเซียนกับคู่ภาคีอื่นๆ • ASEAN - UNICEF + Framework of Cooperation (FOC), maternal and child Health • ASEAN - WHO + MOU of 2009-2013, WHO Representative to Indonesia as WHO Liaison Officer to ASEAN • ASEAN - UNAIDS + Cooperation Agreement with ASEAN On HIV/AIDs • ASEAN + 3 เกาหลีใต้ จีน ญี่ปุ่น+ Emerging infectious diseases + Pandemic preparedness and response + Traditional Medicine • ASEAN - China + MOU in the field of Health • ASEAN - UNDP + MDGs Attainment

  36. อาเซียนกับคู่ภาคีอื่นๆ • ACMECS - Ayeyawady – Chaopya - Mekong Economic Cooperation Strategy + 5 countries; Laos, Myanmar, Cambodia, Vietnam, Thailand + Declaration on Partnership in Combating Avian Influenza and Other Infectious Diseases • US-LMI (Lower Mekong Initiative) ความริเริ่มของอเมริกา เพื่อร่วมพัฒนาประเทศลุ่มน้ำโขงตอนล่าง 4 ประเทศ (ลาว กัมพูชา ไทย เวียดนาม)ด้านการศึกษา โครงสร้างพื้นฐาน สธ. สิ่งแวดล้อม • ASEAN - UNICEF + Framework of Cooperation (FOC), maternal and child Health • ASEAN - WHO + MOU of 2009-2013, WHO Representative to Indonesia as WHO Liaison Officer to ASEAN • ASEAN - UNAIDS + Cooperation Agreement with ASEAN On HIV/AIDs

  37. MEKONG BASIN DISEASE SURVELLANCE (MBDS) MBDS Coordinating Office Mekong Basin Disease Surveillance (MBDS)

  38. MBDS Collaborative Activities • Joint Outbreak Investigations • TTX (National & Regional) • GeoChat • FETP • GIS • Case Study Workshop • Data Management Workshop • MBDS Lab Assessment • H1N1 Response Assessment 2009, 2011 • Epi Capacity Strengthening • Myanmar, Lao PDR, Vietnam • Disaster relief (Nagis)

  39. International Health Regulations (IHR) • กฎเฝ้าระวังโรคระหว่างประเทศ • กฎในการตอบโต้ภัยคุกคามระหว่างประเทศ • กฎของมาตรการประจำเพื่อลดความเสี่ยงจากการแพร่ระบาดของโรคระหว่างประเทศ • กฎปฏิบัติงานร่วมกันของ WHO และประเทศสมาชิก

  40. Asia Pacific Strategy for Emerging Diseases (APSED) • Surveillance, risk assessment & response • Laboratory • Zoonosis • Infection prevention & control • Risk communication • Public health emergency & preparedness • Regional preparedness, alert & response • Monitoring & evaluation

  41. พิธีลงนาม MOU ระหว่างนพ.สสจ. สะหวัน-มุก-อำนาจ-อุบลฯ-นครฯ

  42. Overview of DDC’s international cooperation activities All DC programs WHO International organizations HIV, TB, Malaria Global Fund ? Other APEC Many frameworks DDC’s International cooperation 7 frameworks ASEAN Multilateral / Regional 4 frameworks Mekong basin DC, Disaster FELEC Alcohol, other EU Bilateral cooperation 16 frameworks Thai–partner 26 Nov 2011

  43. Overview of DDC’s international cooperation activities Epid, surveil., control, lab. ASEAN + 3 Surveillance, EID, R&D, “:Big 3” ASEAN - USA Stockpiling of AV & PPE ASEAN - Japan ASEAN ASEAN - Korea EID, HIV, cancer, R&D CD including AI, PI, HIV/AIDS ASEAN - Canada HIV/AIDS, PI, EID, PH, Medicine ASEAN -India Dis control, PHE response ASEAN - China 26 Nov 2011

  44. Overview of DDC’s international cooperation activities Surveillance, Epidem, Lab., Risk Com, ICT, policy research on disease control & animal-human interface. Mekong Basin Disease Surveillance Network (MBDS) Info sharing, capacity building, Lab., surveillance, control of CD, EID, AI, PI; Promoting IHR Ayeyawady-Chaophraya-Mekong-Economic Cooperation Strategy (ACMECS) Mekong basin PH policy & capacity to address disease mitigation, PHE preparedness and response Lower Mekong Initiative (LMI) HRD, HIV/AIDS Cross-border CD surveillance & response, drug resistant TB & malaria; PPP Greater Mekong Sub-region (GMS) 26 Nov 2011

  45. แนวทางการทำความร่วมมือระหว่างประเทศแนวทางการทำความร่วมมือระหว่างประเทศ กรอบนโยบายรัฐบาล • ความมั่นคงทางสุขภาพที่ยั่งยืน อยู่บนฐานความร่วมมือในภูมิภาคและโลก • ถือประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ตั้ง • มุ่งสร้างศักยภาพระยะยาว • ลดความซ้ำซ้อน - ยิงปืนนัดเดียว ได้นกหลายตัว • อื่นๆ กรอบนโยบาย สธ. กรอบนโยบาย / แผน คร. กรอบความร่วมมือ และแผนด้านต่างๆ อย่างบูรณาการ WHO, APEC, ASEAN, ACMECS, MBDS, Bilateral, IHR, APSED, etc.

  46. แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพโลกและภูมิภาคอาเซียนของประเทศไทย เพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียนที่บูรณาการและสุขภาพโลก ที่เป็นธรรม พศ.2555-2559 ยุทธศาสตร์ • พัฒนาขีดความสามารถอย่างยั่งยืน • ใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการตัดสินใจด้านนโยบาย • พัฒนากลไกประสานนโยบายอย่างต่อเนื่อง • ธำรงบทบาทของไทยในเวทีสุขภาพโลก ที่มา : สำนักการสาธารณสุขระหว่างประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

  47. เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ปี พ.ศ. 2555-2556 • การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (universal health coverage) • Field Epidemiology Training Network (FETN) • การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ (Health impact assessment) • ความปลอดภัยและความมั่นคงด้านยาและอาหาร (Food and drug safety and security) • ระบบข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ (Health information system) • ทรัพยากรบุคคลด้านสุขภาพ (Human resources for health development) • การควบคุมและป้องกันปัญหาโรคเอดส์

  48. เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ปี พ.ศ. 2556-2557 • ศูนย์กลางการเตรียมความพร้อมต่อการระบาดของไข้หวัดใหญ่ (Influenza pandemic preparedness centre) • การเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบสุขภาพ (Health system strengthening) • การควบคุมยาสูบและแอลกอฮอล์ (Tobacco and alcohol control) • การแพทย์ฉุกเฉิน (Emergency medical service) • โรคไม่ติดต่อ (Non-communicable diseases)

  49. เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ปี พ.ศ. 2557-2558 • การแพทย์ดั้งเดิมและการแพทย์ทางเลือก • สุขภาพจิต (Mental health) • การค้าระหว่างประเทศและระบบสุขภาพ ปี พ.ศ. 2558-2559 • การพัฒนาระบบความปลอดภัยในเครื่องสำอาง เครื่องมือแพทย์ • สุขภาพของผู้อพยพ

  50. (Draft) Policy and strategy Policy: • DDC will collaborate with regional and international partners as a means to improve national capacity for disease control and ensure mutual security in health. • Other? Office of International Cooperation, DDC, MOPH 2 May 2011

More Related