1 / 51

บทที่ 4

บทที่ 4. ความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมายด้านนโยบายและเครื่องมือด้านนโยบายการคลัง. (เพิ่มเติม). ถวิล นิลใบ. นโยบายการคลัง( EC709). http://www.eco.ru.ac.th/tawin/EC% 20709/ Fiscal% 20 policy.pdf สืบค้นวันที่ 17 สิงหาคม 2552. นโยบายการคลังของประเทศไทย. นโยบายการคลังของไทย. โดย พรชัย ฐีระเวช

hermione
Download Presentation

บทที่ 4

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมายด้านนโยบายและเครื่องมือด้านนโยบายการคลัง (เพิ่มเติม)

  2. ถวิล นิลใบ. นโยบายการคลัง(EC709). http://www.eco.ru.ac.th/tawin/EC%20709/Fiscal%20policy.pdfสืบค้นวันที่ 17 สิงหาคม 2552

  3. นโยบายการคลังของประเทศไทยนโยบายการคลังของประเทศไทย

  4. นโยบายการคลังของไทย โดย พรชัย ฐีระเวช ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายการคลังและงบประมาณ รานี อภิญญาวัตร ผู้อำนวยการส่วนวางแผนการคลัง สำนักนโยบายการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง 13 มีนาคม 2549

  5. กรอบการบรรยาย • ความหมายและบทบาทของนโยบายการคลัง • เป้าหมายของนโยบายการคลัง • เครื่องมือของนโยบายการคลัง • การดำเนินนโยบายการคลังในอดีต • แนวทางการดำเนินนโยบายการคลังในปัจจุบันและอนาคต

  6. ความหมายและบทบาทของนโยบายการคลัง(Fiscal Policy) • เป็นนโยบายที่รัฐบาลใช้เครื่องมือทางการคลังเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายทางเศรษฐกิจและสังคมในภาพรวม โดยอาศัยเครื่องมือทางการคลัง ทั้งทางด้านรายได้และรายจ่ายของรัฐบาล • รัฐบาลใช้นโยบายภาษี และรายจ่ายในการสนับสนุนการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ เช่น • การลดภาษีขาเข้าสำหรับสินค้าทุนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน • การเพิ่มรายจ่ายภาครัฐเพื่อช่วยในการกระตุ้นเศรษฐกิจ • ดำเนินนโยบายการคลังแบบขาดดุล เกินดุล ตลอดจนการชดเชยการขาดดุลที่เหมาะสมเพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

  7. เป้าหมายของนโยบายการคลังเป้าหมายของนโยบายการคลัง 1. สร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 2. รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 3. กระจายรายได้ที่เป็นธรรม 4. จัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ

  8. เครื่องมือของนโยบายการคลังเครื่องมือของนโยบายการคลัง • รายได้ของรัฐบาล • รายได้จากการเก็บภาษีทางตรง และทางอ้อม • รายได้ที่ไม่ใช่จากการเก็บภาษี • งบประมาณรายจ่าย • การก่อหนี้และการบริหารหนี้สาธารณะ • การบริหารเงินคงคลัง

  9. การใช้นโยบายการคลังกับเศรษฐกิจการใช้นโยบายการคลังกับเศรษฐกิจ ลักษณะ ความคาดหวัง วิธีการ ลดความต้องการใช้จ่ายภายในประเทศ ทำให้รายได้ประชาชาติลดลง เพื่อชะลอความร้อนแรงของเศรษฐกิจ • แบบหดตัว • จัดทำงบประมาณรายจ่ายแบบเกินดุล • จัดเก็บภาษีมากขึ้น • แบบขยายตัว เพิ่มความต้องการใช้จ่ายภายในประเทศ เพื่อทำให้รายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น • จัดทำงบประมาณรายจ่ายแบบขาดดุล • ลดภาษี

  10. เครื่องมือทางการคลังกับเป้าหมายทางเศรษฐกิจเครื่องมือทางการคลังกับเป้าหมายทางเศรษฐกิจ 1. การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ • เศรษฐกิจชะลอตัว - เพิ่มการใช้จ่ายของรัฐ (นโยบายขาดดุล) - ลดภาษี เพื่อกระตุ้นการใช้จ่ายการบริโภค และการลงทุน • เศรษฐกิจขยายตัว - ลดการใช้จ่ายของรัฐบาล (นโยบายเกินดุล, นโยบายสมดุล) - ส่งเสริมเอกชนเป็นผู้ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ 2. การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ • ภายในประเทศ: การรักษาระดับราคาไม่ให้ขยายตัว/หดตัวเร็วเกินไป หรือป้องกันไม่ให้เกิดสภาวะการว่างงาน • ระดับราคาสูง: ทำงบประมาณเกินดุล ลดการใช้จ่าย เพิ่มภาษี • ว่างงาน: ทำงบประมาณขาดดุลกระตุ้นการใช้จ่าย เกิดการจ้างงาน • นอกประเทศ : การดูแลดุลการค้า ดุลการชำระเงิน ภาระหนี้ต่างประเทศ ฐานะเงินสำรองระหว่างประเทศ และอัตราแลกเปลี่ยน อยู่ในระดับที่เหมาะสม • ใช้มาตรการภาษีที่เอื้อต่อการส่งออก/ชะลอการนำเข้า

  11. เครื่องมือทางการคลังกับเป้าหมายทางเศรษฐกิจ (ต่อ) 3. การกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม : การกระจายความเจริญ การพัฒนาไปสู่ประชาชน เพื่อลดช่องว่างระหว่างรายได้ ลดปัญหาทางสังคม • จัดสรรงบประมาณสู่ภูมิภาคและท้องถิ่น เพื่อให้เกิดการสร้างงาน • จัดเก็บภาษีในอัตราก้าวหน้า 4. การจัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ : การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด • ใช้มาตรการด้านภาษีเพื่อเปิดโอกาสให้อุตสาหกรรมในประเทศผลิตสินค้าและบริการที่มีต้นทุนต่ำ และมีประสิทธิภาพ • จัดหาสินค้าสาธารณะ

  12. นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต นโยบายการคลัง บทบาทของนโยบายการคลัง (2531 - ปัจจุบัน) • ช่วงรุ่งเรืองก่อนวิกฤติ (2531-2539) • ช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ (2540 - 2543) • ช่วงฟื้นฟูเศรษฐกิจ (2544 - 2547) • ช่วงปัจจุบัน (ปัจจุบัน) • ผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินนโยบายการคลัง ทิศทางของนโยบายการคลัง ในอนาคต • เน้นเติบโตที่ยั่งยืน ปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ • สังคมและท้องถิ่นที่แข็งแกร่ง • สิ่งแวดล้อมที่สนับสนุนการเติบโตที่ยั่งยืน • สร้างความเป็นธรรม • บูรณาการนโยบายสาธารณะ • Humanware ต้องแปลงโฉมใหม่

  13. นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต การแก้ไขปัญหาสถาบันการเงิน ไม่เด็ดขาด การเปิดเสรีภาคการเงิน ทุนสำรองระหว่างประเทศถูกใช้ในการปกป้องค่าเงิน การขาดเสถียรภาพและความเชื่อมั่นในรัฐบาล สาเหตุการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้ออยู่ในระดับสูง ดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุลอย่างต่อเนื่อง การดำเนินนโยบายอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยนที่ผิดพลาด

  14. นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 2528-2542 % 13.3 11.2 4.5 4.6 -1.4 -10.5

  15. นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต อัตราแลกเปลี่ยน ม.ค.40-ธ.ค.42 บาท/ดอลลาร์สหรัฐ 53.81 นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างเต็มที่ นโยบายเศรษฐกิจแบบตึงตัว นโยบายเศรษฐกิจแบบผ่อนคลาย

  16. นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต อัตราเงินเฟ้อ ม.ค.40-ธ.ค.42 % นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างเต็มที่ นโยบายเศรษฐกิจแบบตึงตัว นโยบายเศรษฐกิจแบบผ่อนคลาย

  17. นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต อัตราดอกเบี้ยในตลาดซื้อคืนประเภท 1 วัน ( ม.ค.40-ธ.ค.42) % 23.35 22.87 19.65 นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างเต็มที่ นโยบายเศรษฐกิจแบบตึงตัว นโยบายเศรษฐกิจแบบผ่อนคลาย 1.0

  18. นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต อัตราดอกเบี้ย MLR ( ม.ค.40-ธ.ค.42) % 15.25 15.375 นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างเต็มที่ 8.375 9.375 นโยบายเศรษฐกิจแบบตึงตัว นโยบายเศรษฐกิจแบบผ่อนคลาย

  19. นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต ทุนสำรองระหว่างประเทศ ( ม.ค.40-ธ.ค.42) ล้านเหรียญสหรัฐ นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างเต็มที่ 25,938.6 นโยบายเศรษฐกิจแบบตึงตัว นโยบายเศรษฐกิจแบบผ่อนคลาย มค.41 มค.42 ธค.42 มค.40

  20. นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง เครื่องมือทางการเงิน เครื่องมือทางการคลัง สถาบันการเงิน (ไม่แข็งแรง) สินเชื่อ ปริมาณเงิน ภาษี รายจ่าย หนี้ เงินคงคลัง C + I + G + (X - M) กระตุ้นเศรษฐกิจ GDP

  21. นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต บทบาทกระทรวงการคลังในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ (2540 - 2543) • ช่วงนโยบายการคลังแบบตึงตัว (กรกฎาคม 2540 - กุมภาพันธ์ 2541) • ช่วงนโยบายการคลังแบบผ่อนคลาย (กุมภาพันธ์ 2541 - สิงหาคม 2541) • วัตถุประสงค์ : รักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจ

  22. นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต บทบาทกระทรวงการคลังในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ (2540 - 2543) • ช่วงนโยบายการคลังกระตุ้นเศรษฐกิจ • (ธันวาคม 2541 - มีนาคม 2542) • ช่วงนโยบายระบบการเงินและนโยบายเศรษฐกิจอื่น • (สิงหาคม 2541 - สิงหาคม 2542) • วัตถุประสงค์ : ฟื้นฟูและกระตุ้นเศรษฐกิจ

  23. การดำเนินนโยบายการคลังแบบ ผสมผสาน เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต บทบาทกระทรวงการคลังช่วง ปี 2544 - ปัจจุบัน มาตรการกึ่งการคลัง มาตรการการคลัง

  24. นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต บทบาทกระทรวงการคลังช่วง ปี 2544 - ปัจจุบัน การดำเนินนโยบายการคลังขาดดุล ผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินนโยบาย การคลังเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ การดำเนินนโยบายกึ่งการคลัง เพื่อการกระตุ้นเศรษฐกิจ การดำเนินนโยบายการคลัง เพื่อรักษา กรอบความยั่งยืนทางการคลัง การสนับสนุนการกระจายอำนาจ ทางการคลังให้กับ อปท. การดำเนินนโยบายการคลังเพื่อปรับโครงสร้าง เศรษฐกิจและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน

  25. นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต บทบาทกระทรวงการคลังช่วง ปี 2544 - ปัจจุบัน ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ การดำเนินนโยบาย การคลังขาดดุล

  26. นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต บทบาทกระทรวงการคลังช่วง ปี 2544 - ปัจจุบัน ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ การดำเนินนโยบายกึ่งการคลัง เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ

  27. นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต บทบาทกระทรวงการคลังช่วง ปี 2544 - ปัจจุบัน การดำเนินนโยบายการคลังเพื่อรักษาความยั่งยืนทางการคลัง ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ

  28. กรอบความยั่งยืนทางการคลังกรอบความยั่งยืนทางการคลัง

  29. นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต บทบาทกระทรวงการคลังช่วง ปี 2544 - ปัจจุบัน การสนับสนุนการกระจายอำนาจทางการคลังให้กับ อปท. ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ

  30. นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต บทบาทกระทรวงการคลังช่วง ปี 2544 - ปัจจุบัน ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ การดำเนินโยบายการคลัง เพื่อปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน

  31. นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต • ทำให้ภาคการเงินการคลังมี • ความแข็งแกร่ง • เศรษฐกิจฐานรากและประชาชน • มีรายได้และคุณภาพชีวิตที่ขึ้น • เศรษฐกิจมีเสถียรภาพอย่างต่อเนื่อง • 4 ปีที่ผ่านมา กระทรวงการคลังมีบทบาทที่สำคัญในการซ่อมแซมและฟื้นฟูเศรษฐกิจ • นับจากนี้ไป เศรษฐกิจไทยกำลังมุ่งสู่การเปลี่ยนผ่านไปสู่ความมั่นคงและยั่งยืน ในทุกๆ ด้าน พร้อมๆ กับการเผชิญกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเงิน การคลัง และสังคม กระทรวงการคลัง จึงมีงานที่ท้าทายอยู่อีกมาก ประการแรก การสร้างภูมิคุ้มกันให้ระบบเศรษฐกิจสามารถเผชิญพลวัตรการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม ประการที่สอง การสร้างความสมดุลทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อวางรากฐานที่มั่นคง ประการสุดท้าย การสร้างกระบวนการทำงานให้มีประสิทธิภาพ ทันสมัย โปร่งใส และเอื้อประโยชน์ต่อภาครัฐองค์กรธุรกิจเอกชน และประชาชน

  32. นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต บทบาทในอนาคต • เน้นเติบโตที่ยั่งยืน โตเชิงคุณภาพ ปรับและปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ • สังคมและท้องถิ่นที่แข็งแกร่ง • สิ่งแวดล้อมที่สนับสนุนการเติบโตที่ยั่งยืน • สร้างความเป็นธรรม • สร้าง 4 โอกาส เพื่อให้เกิดความเท่าเทียม • บูรณาการนโยบายการคลังภาคสาธารณะ • Humanware ต้องแปลงโฉมใหม่

More Related