1 / 8

ขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

ขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์. รัฐประศาสนศาสตร์. เป็นการศึกษาหาความรู้ในทุกเรื่องที่จำเป็นต้องใช้ในการบริหารงานภาครัฐ เพื่อประโยชน์สูงสุดที่จะเกิดก็ประชาชนและรัฐ. ขอบข่ายการศึกษา. มี 3 แนวทางการศึกษา 1 Cross-Sectional Approach 2 Historical Approach 3 Legal Approach.

herbert
Download Presentation

ขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

  2. รัฐประศาสนศาสตร์ • เป็นการศึกษาหาความรู้ในทุกเรื่องที่จำเป็นต้องใช้ในการบริหารงานภาครัฐเพื่อประโยชน์สูงสุดที่จะเกิดก็ประชาชนและรัฐ

  3. ขอบข่ายการศึกษา • มี 3 แนวทางการศึกษา • 1 Cross-Sectional Approach • 2 Historical Approach • 3 Legal Approach

  4. Cross-Sectional Approach • มองว่ารัฐประศาสนศาสตร์ความสนใจเรื่อง “องค์การสาธารณะ (Public Agency)” • จึงต้องเข้าใจจุดมุ่งหมายและหน้าที่ขององค์การสาธารณะซึ่งคือ ผลประโยชน์สาธารณะ

  5. Historical Approach • ซึ่งจะเป็นการมองตั้งแต่ยุคเริ่มต้นที่ให้ความสำคัญกับการศึกษาที่มาของรัฐ หน้าที่ของรัฐ (Roles or the State) • ดูการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเพื่อหาแนวทางปฏิบัติ

  6. Legal Approach • มองว่ารัฐเป็นเรื่องของความขัดแย้ง กล่าวคือกลุ่มคนที่มารวมตัวกัน • จึงถือได้ว่ารัฐประศาสนศาสตร์เป็นความรู้ที่เกี่ยวกับการใช้อำนาจในจัดการของรัฐ

  7. แนวคิดที่มีผลกระทบต่อรัฐประศาสนศาสตร์ในปัจจุบันแนวคิดที่มีผลกระทบต่อรัฐประศาสนศาสตร์ในปัจจุบัน • กระแสโลกาภิวัฒน์ • แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์(Neo-classic Economics) • แนวคิดการจัดการนิยม(Mangerialism) • แนวคิดทางรัฐศาสตร์--->ประชารัฐ(participatory) • แนวคิดทางกฎหมายการปกครอง (Rule of Law)

  8. จบแล้วหละ

More Related