1 / 29

สรุปผลการสัมมนา

สรุปผลการสัมมนา. วันที่ 17 ธันวาคม 2544. ด้านการดำเนินงาน. มีความพอใจด้านสถานที่ 89.20 % ข้อเสนอ : ควรจัดที่ อาคารเฉลิมพระบารมี ต้องการจัดสัมมนาในวันเวลาราชการ 95.20% มีความพอใจด้านอาหาร-เครื่องดื่ม 86.80% ข้อเสนอ: ควรปรับปรุงด้านรสชาติอาหาร. จำนวนผู้เข้าร่วมสัมมนา. จำนวน (คน).

hera
Download Presentation

สรุปผลการสัมมนา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปผลการสัมมนา วันที่ 17 ธันวาคม 2544

  2. ด้านการดำเนินงาน • มีความพอใจด้านสถานที่ 89.20%ข้อเสนอ: ควรจัดที่อาคารเฉลิมพระบารมี • ต้องการจัดสัมมนาในวันเวลาราชการ 95.20% • มีความพอใจด้านอาหาร-เครื่องดื่ม 86.80%ข้อเสนอ: ควรปรับปรุงด้านรสชาติอาหาร

  3. จำนวนผู้เข้าร่วมสัมมนาจำนวนผู้เข้าร่วมสัมมนา จำนวน (คน) • การศึกษาต่อเนื่อง: บริบทใหม่ของการแพทย์ไทย 156 • ทิศทางและนโยบายของการศึกษาต่อเนื่อง 161 • การออกรหัสกิจกรรมและระบบการจัดเก็บคะแนน 164 • การจัดทำสื่อการศึกษาต่อเนื่อง 164 • การควบคุมคุณภาพและประเมินสถาบัน 161 • ขั้นตอนการขึ้นทะเบียนกิจกรรม 150

  4. การเก็บหน่วยกิตในการเข้าร่วมการเก็บหน่วยกิตในการเข้าร่วม หน่วยกิต ร้อยละ 0 1.20 3.25 1.20 4.25 1.80 4.50 1.80 5.25 6.60 5.50 3.00 6.50 84.40 รวม 100.00

  5. สัดส่วนการเก็บหน่วยกิตในการเข้าร่วมสัดส่วนการเก็บหน่วยกิตในการเข้าร่วม 2% 1% 2% 1% 7% 0 3% 3.25 4.25 4.5 84% 5.25 5.5 6.5

  6. ความคิดเห็นต่อหัวข้อบรรยายความคิดเห็นต่อหัวข้อบรรยาย • การศึกษาต่อเนื่อง: บริบทใหม่ของการแพทย์ไทย 3.79 • ทิศทางและนโยบายของการศึกษาต่อเนื่อง 3.73 • การออกรหัสกิจกรรมและระบบการจัดเก็บคะแนน 3.40 • การจัดทำสื่อการศึกษาต่อเนื่อง 3.38 • การควบคุมคุณภาพและประเมินสถาบัน 3.40 • ขั้นตอนการขึ้นทะเบียนกิจกรรม 3.43

  7. การบริหารการศึกษาต่อเนื่องให้มีคุณภาพต่อองค์กรการบริหารการศึกษาต่อเนื่องให้มีคุณภาพต่อองค์กร รองศาสตราจารย์นายแพทย์สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล

  8. รัฐธรรมนูญปี พ.ศ. 2540 • มาตรา ๔ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ และเสรีภาพของบุคคล ย่อมได้รับความคุ้มครอง • มาตรา ๒๙ การจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลที่รัฐธรรมนูญรับรองไว้จะกระทำมิได้ เว้นโดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายเฉพาะ เพื่อการที่รัฐธรรมนูญนี้กำหนดไว้และเท่าที่จำเป็นเท่านั้นและจะกระทบกระเทือนสาระสำคัญแห่งสิทธิและเสรีภาพนั้นมิได้

  9. รัฐธรรมนูญปี พ.ศ. 2540 • มาตรา ๕๐ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการประกอบกิจการหรือประกอบอาชีพและการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรมการจำกัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทำมิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอำนาจตามบัทบัญญัติแห่งกฎหมายเฉพาะ เพื่อประโยชน์ในการรักษาความมั่นคงของรัฐหรือเศรษฐกิจของประเทศ การคุ้มครองประชาชนในด้านสาธารณูปโภค การรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน การรักษาทรัพยากรธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อมสวัสดิภาพของประชาชน หรือเพื่อป้องกันการผูกขาด หรือขจัดความไม่เป็นธรรมในการแข่งขัน

  10. รัฐธรรมนูญปี พ.ศ. 2540 สิทธิของบุคคล (คุ้มครองผู้บริโภค) • มาตรา ๕๖ สิทธิของบุคคลที่จะมีส่วนร่วมกับรัฐและชุมชนในการบำรุงรักษา และการได้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ และในการคุ้มครอง ส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ดำรงชีพอยู่ได้อย่างปกติและต่อเนื่องในสิ่งแวดล้อมที่จะไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตน ย่อมได้รับความคุ้มครอง ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

  11. คุณภาพของการบริการทางการแพทย์ หมายความถึง “ภาวะที่เป็นคุณประโยชน์ต่อผู้รับบริการทั้งในด้านเทคนิคหรือมาตรฐานวิชาชีพ” • ความรู้ความสามารถของผู้ให้บริการ • ความเหมาะสมของการให้บริการ • ความเท่าเทียมและรวมถึงประสิทธิภาพ • ประสิทธิผล, ความปลอดภัย • ความต่อเนื่อง

  12. Focus of the Accreditation Process Strategic Directions Systems Support Providers Client/PatientandFamily Providers Systems Support Strategic Directions

  13. ผู้รับบริการ ผู้ให้บริการ องค์กรภายนอก คุณค่า แนวทางปฏิบัติงาน กฎหมายความรู้วิชาชีพข้อกำหนดคุณภาพ ความต้องการความคาดหวัง การให้บริการ

  14. ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้าง (Structure) กระบวนการ (Process) และผลลัพธ์ (Outcome) ในการประกันคุณภาพ โครงสร้าง (Structure) ทรัพยากรบุคคล เครื่องมือทางด้านกายภาพ (Human and Material Resources) รูปแบบการดำเนินการและการจัดการ (Operational and organizational Characteristics)งบประมาณ (Budget) ผลลัพธ์ (Outcome) กระบวนการ (Process) สภาวะสุขภาพของผู้ป่วย(Health Status of Patient)ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรม(Knowledge, Attitude, Behavior) ชุมชน (Communities) เทคนิคการดูแลทางคลินิก(Clinical Care)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล(Interpersonal relationships)

  15. ความสำคัญของการบริหารองค์กรความสำคัญของการบริหารองค์กร • กฎ 85/15 หมายถึง ปัญหาของระบบ ภายใต้การควบคุมผู้บริหาร ………………………………. มีมากถึง 85% ส่วนปัญหาของคน……………….. มีเพียง 15%

  16. หลักการของการพัฒนาคุณภาพองค์กรหลักการของการพัฒนาคุณภาพองค์กร • CME มุ่งเน้นที่ตัวแพทย์เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ด้วยตนเอง • CPD มุ่งเน้นกระบวนการยึด ผู้รับบริการ เป็นศูนย์กลาง

  17. CPD vs CQI • การพัฒนาวิชาชีพแพทย์อย่างต่อเนื่อง (CPD) เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI) ขององค์กร มุมมองใหม่ที่แพทย์ต้องปรับให้สอดคล้องกับสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป • การพัฒนาหลักแนวคิดของแพทย์ในองค์กรจึงเป็นกระบวนการที่ซับซ้อนต้องอาศัยวัฒนธรรมเดิมขององค์กร

  18. แพทย์ : Genome of Quality • การเข้าร่วมของแพทย์ในโครงสร้างขององค์กรเพื่อที่จะพัฒนาและนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่องนี้ จัดเป็นกิจกรรมที่จัดอยู่ในประเภทที่ 28 เช่น • การติดตามเครื่องชี้วัดของหน่วยงาน • การวิเคราะห์ความเสี่ยงและการป้องกันความเสี่ยง • การทำงานในลักษณะสหสาขาวิชาชีพ • การทำงานโดยเน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง • การส่งเสริมให้มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง

  19. ผู้บริหารจะใช้ CME เป็นกลยุทธ์ในการพัฒนาองค์กร (HA) ได้อย่างไร • ผู้บริหารสร้างบูรณาการภาพรวมให้ครบ 6 หมวด • ความมุ่งมั่นในการพัฒนาคุณภาพ • ทรัพยากรและการจัดการทรัพยากร • กระบวนคุณภาพ • การรักษามาตรฐานและจริยธรรมวิชาชีพ • สิทธิผู้ป่วยและจริยธรรมองค์กรและการดูแลรักษาผู้ป่วย • ทีมงานนำระดับโรงพยาบาลและทีมนำเฉพาะด้านให้เลือกใช้กิจกรรมประเภทที่ 28 ในการนำทีมสู่คุณภาพ • ทีมนำคลินิกของแต่ละภาควิชาจะพัฒนาคุณภาพบริการทางคลินิก

  20. หลักการของการพัฒนาคุณภาพองค์กรหลักการของการพัฒนาคุณภาพองค์กร ปรับกลยุทธ์เชิงรุกให้บรรลุเป้าหมายขององค์กร ให้ผู้บริหารจัดสรรและเลือกกิจกรรมประเภทที่ 29, 30 และ 31 แล้วนำมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ • เพื่อศึกษา วินิจฉัยปัญหาชุมชน เข้าร่วมกันดูแลสุขภาพกันเอง • มีการแก้ไขและวางแนวทางการป้องกันการเกิดซ้ำ • การรวบรวมปัญหาและแนวทางการแก้ไขเชิงวิทยาการทางการแพทย์และสาธารณสุข โดยยืดหลักสำคัญ คือ ผู้ป่วยได้รับบริการที่ดีที่สุด แพทย์ที่ร่วมอยู่ในทีมที่ทำงานมาร่วมทำด้วยใจมุ่งมั่นสร้างความผาสุกให้แก่ชุมชน

  21. แสดงความสัมพันธ์ของมาตรฐานแต่ละบทกับทีมต่าง ๆ และเนื้อหาหลักที่เกี่ยวข้อง ทีมนำระดับ. ทีมนำระดับรพ. ทีมนำเฉพาะด้าน ทีมนำคลินิก ทีมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพ หน่วยงานต่าง ๆ 1. การนำองค์กร GOV.1LED.1LED.4 LED.1LED.4 GEN.2 GOV.2GOV.3 GOV.2GOV.3 GEN.1 2. ทิศทางนโยบาย GOV.2GOV.3 GOV.2GOV.3 LED.3 LED.3 3. การบริหาร ทรัพยากรและ ประสานบริการ LED.3LED.5 LED.3 LED.3

  22. ทีมนำระดับ. ทีมนำระดับรพ. ทีมนำเฉพาะด้าน ทีมนำคลินิก ทีมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพ หน่วยงานต่าง ๆ 4. การบริหาร และพัฒนา ทรัพยากรบุคคล HUM HUMGEN.3GEN.4 5. ระบบ สารสนเทศ โรงพยาบาล IM.1IM.2 IM.2 IM.2IM.3 6. กระบวนการ คุณภาพทั่วไป GEN.9 GEN.9 GEN.9 GEN.9 GEN.9 7. กิจกรรม คุณภาพด้าน คลินิกบริการ GEN.9.3 GEN.9.3

  23. ทีมนำระดับ. ทีมนำระดับรพ. ทีมนำเฉพาะด้าน ทีมนำคลินิก ทีมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพ หน่วยงานต่าง ๆ GEN. 8.2GEN. 8.3 GEN.8.2GEN.8.3 12. การเตรียม ความพร้อม สำหรับผู้ป่วย และครอบครัว GEN.8.4 GEN.8.4 13. การประเมิน และวางแผน ดูแลรักษา 14. กระบวนการให้บริการ/ ดูแลผู้ป่วย GEN.8.5 GEN.8.5

  24. ทีมนำระดับ. ทีมนำระดับรพ. ทีมนำเฉพาะด้าน ทีมนำคลินิก ทีมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพ หน่วยงานต่าง ๆ 8. การป้องกัน และควบคุม การติดเชื้อใน โรงพยาบาล IC IC IC 9. องค์กรแพทย์ MED 10. จริยธรรม องค์กร ETH.3 ETH.3 11. การทำงาน เป็นทีมใน การดูแลผู้ป่วย GEN.8.1 GEN.8.1

  25. ทีมนำระดับ. ทีมนำระดับรพ. ทีมนำเฉพาะด้าน ทีมนำคลินิก ทีมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพ หน่วยงานต่าง ๆ GEN.8.6IM.4 GEN.8.6IM.4 19. การบันทึก ข้อมูลผู้ป่วย 20. การเตรียม จำหน่ายและ การดูแล ต่อเนื่อง GEN.8.7 GEN.8.7

  26. วิเคราะห์แบบแผนของปัญหาวิเคราะห์แบบแผนของปัญหา ปรับปัญหาให้เป็นกระบวนการ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์กับผู้ป่วย เขียนแผนภูมิกระบวนการทำงาน(เลือกใช้วิธีใดวิธีหนึ่ง) (ก) เขียนขั้นตอนอย่างง่าย (ข) Top-down Flowchart (ค) Deployment Flowchart (ง) DetailedProcess Flowchart (จ) Deployment & DetailedProcess

  27. ทีมนำ หัวหน้าหน่วยงาน ทีมนำด้านคลินิกMed, Surg, Obg, Ped, Ortho, EENT ทีมนำด้านระบบงาน/บริการMed, Surg, Obg, Ped, Ortho, EENT ทีมสนับสนุน/พี่เลี้ยง ทีมพัฒนาคุณภาพ(ในหน่วยงาน) ทีมพัฒนาคุณภาพ(คร่อมหน่วยงาน) ทีมพัฒนาคุณภาพ(คร่อมหน่วยงาน)

  28. ท้าทาย โอกาส แพทย์ ศ.น.พ. / องค์กรวิชาชีพ ผู้รับบริการ ศักยภาพ ความคาดหวัง มาตรฐาน ความต้องการ (need) โอกาสพัฒนา 100 หน่วยกิต/ 5 ปี ปัญหา ปัญหา สภาพปัจจุบัน ความเสี่ยง สูญเสียงบประมาณ

  29. Thank You

More Related